Page 332 - kpi20109
P. 332

0                                                                                                                                                         1


        กิจกรรมของชุมชนคืนจากการทางรถไฟแห่งประเทศแต่ได้รับการปฏิเสธมีเพียงการบรรเทาต่อ              ที่สำคัญ เทศบาลตำบลท่าพระมีความเป็นเลิศด้านสร้างการบริหารร่วมกับเครือข่าย
        ข้อเรียกร้องแทนด้วยการสร้างก่อสร้างสถานที่ส่วนหนึ่งสำหรับการออกกำลังกายแทนคืนให้แก่   ด้วยการออกแบบระบบฐานข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชน การถอดบทเรียนข้อมูลในทุกมิติของตำบล
        ชุมชน แต่ชุมชนท่าพระเห็นพ้องร่วมกันว่าประวัติศาสตร์ท่าพระสูญหายไปเพราะความทันสมัยของ  ท่าพระโดยให้เครือข่ายเข้ามาดำเนินการอย่างเป็นระบบ นำมาซึ่งจุดขายและเป็นทำให้ทุกคน
        การพัฒนาเมืองที่ไม่คำนึงถึงบริบทของพื้นที่ ซึ่งชุมชนท่าพระต้องการอนุรักษ์อาคารบ้านเรือน  ได้ร่วมกันแสดงพลังความรักในสำนึกรักบ้านเกิดของคนในตำบลท่าพระด้วยกันเอง โดยเทศบาล

        โบราณและประวัติศาสตร์ของสถานีรถไฟแบบดั้งเดิมไว้ให้เยาวชนรุ่นหลังได้เรียนรู้ ด้วยเหตุนี้      ตำบลท่าพระใช้วิธีการเชื่อมโยงและสร้างแนวทางการทำงานให้เครือข่ายร่วมกันขับเคลื่อนโครงการ
        จึงได้ทำประชาคมขออาคารสถานีรถไฟเพื่อสร้างเป็นศูนย์เรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ แต่ทาง     เพื่ออนุรักษ์และปกป้องทรัพยากรของตำบลท่าพระที่กำลังจะสูญหายไป โดยประสานให้เครือข่าย
        การรถไฟได้ดำเนินการให้เอกชนเช่าพื้นที่เรียบร้อยแล้ว หากชุมชนต้องการสร้างศูนย์เรียนรู้จะต้อง  ทั้งในและนอกพื้นที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการ ดังนี้
        ทำเรื่องขอซื้ออาคารจากการทางรถไฟ
                                                                                                    เครือข่ายหลัก ได้แก่
              ความพยายามต่อสู้เพื่อการอนุรักษ์คุณค่าสิ่งที่ชุมชนหวงแหนจึงนำมาสู่กระบวนมีส่วนร่วม    1.  เทศบาลตำบลท่าพระ มีหน้าที่และบทบาทหลักในการเป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงทุก

        ทางด้านเครือข่ายอย่างเข้มแข็งเพื่อเสนอหนทางแก้ไขปัญหา จนในที่สุดชุมชนจึงพร้อมใจกันระดม  เครือข่ายในการดำเนินการจัดตั้งตลาดท่าพระร้อยปี ประสานกับการทางรถไฟแห่งประเทศไทย
        ทุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการซื้ออาคารสถานีรถไฟเป็นศูนย์เรียนรู้ตำบลท่าพระ การระดม      ในการขอคืนพื้นที่ ประสานจัดประชุมชาวตลาดท่าพระร่วมกับเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง จัดทำ
        งบประมาณด้วยการจัดทำผ้าป่าเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเคลื่อนย้ายอาคารสถานีรถไฟ เครื่องจักร   แผนงานและงบประมาณดำเนินการร่วมกับเครือข่ายหลักและเครือข่ายสนับสนุน การประสานงาน
        บ้านพักพร้อมหัวรถจักร การขอเช่าพื้นที่การออกกำลังกายให้แก่ชุมชน และได้มีการแต่งตั้ง     จัดทำเวทีข้อตกลงร่วมกันอนุรักษ์อาคารบ้านเดิม การประชาสัมพันธ์ในการให้เครือข่ายต่างๆ
        คณะกรรมการดำเนินการตลาดท่าพระร้อยปีเพื่อให้มีการจัดตั้งตลาดท่าพระร้อยปี ทั้งหมดนี้    ได้แบ่งปันข้อมูล ประสานการทำงานและเข้าร่วมในการประชุมแต่ละครั้ง

        เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการของชุมชนเพื่อปกป้องและอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ของชุมชน
        ท่าพระได้อย่างชัดเจน                                                                        2.  ชุมชนทุกชุมชนตำบลท่าพระ ร่วมประชุมปรึกษาหารือ การให้ความคิดเห็นในการ
                                                                                              อนุรักษ์อาคารและกำหนดแนวทางในการพัฒนาพื้นที่ให้แก่เครือข่าย ยินยอมให้ดำเนินการปรับปรุง
              รูปแบบที่เป็นเลิศในการสร้างความสำเร็จ คือ กระบวนการบริหารงานเครือข่ายอย่าง
        ลึกซึ้งและตกผลึกเป็นฐานการทำงานร่วมกันของเครือข่าย จนได้นวัตกรรมทางความคิด            แนวหน้าบ้าน
        “ปักใจรุก” คือ การกระตุ้นและเน้นย้ำให้เครือข่ายมาร่วมประชุมและปรึกษาเรื่องการสร้างชุมชนที่  3.  สถาบันการศึกษาในพื้นที่ ได้แก่ โรงเรียนชุมชนท่าพระ โรงเรียนเทศบาลท่าพระ

        น่าอยู่ การค้นหาโจทย์ร่วมกันและสร้างพลังจากเครือข่ายให้เข้าร่วมมือเพื่อทำเป้าหมายให้สำเร็จ   โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการขอนแก่น วิทยาลัยเทคนิคนครขอนแก่น สนับสนุนครูร่วม
        “ปลุกใจรัก” คือ การสร้างกิจกรรมประชาคมให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ที่อยู่ในพื้นที่ได้เรียนรู้ สำรวจ  กิจกรรมศิลปวัฒนธรรม การนำเด็กและเยาวชนมาร่วมทำกิจกรรมการแสดงวัฒนธรรมผลัด
        ชุมชนจากปราชญ์ชุมชนเพื่อสร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิดและเปิดพื้นที่ให้กลุ่มเยาวชนได้สร้างโอกาส   เปลี่ยนกันตลอดเดือน รวมทั้งร่วมกับชุมชนทาสีอาคารบ้านเรือน นำเด็กและเยาวชนอบรมเป็น
        การแสดงออกทางความสามารถ และ “สร้างการมีส่วนร่วม” คือ การสร้างพื้นที่สร้างสรรค์โดยนำ   มัคคุเทศก์น้อย ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ตำบลท่าพระสู่สาธารณะ
        ผลลัพธ์จากปักใจรุกและปลุกใจรักให้เกิดขึ้นจนกลายเป็นพลังแห่งการมีส่วนร่วมของเครือข่าย        4.  สภาเทศบาลตำบลท่าพระ ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
        อาทิเช่น กิจกรรมระดมทุนผ้าป่า การจำหน่ายสินค้าชุมชน การแสดงฟ้อนรำ การร้องสรภัญญะ      มีหน้าที่ในการร่วมแรงทาสีอาคารบ้านเรือน ขัดล้างพื้นที่แนวหน้าบ้านตลอดแนวถนนพาณิชย์เจริญ
        การแสดงหมอลำ การร้องเพลงเปิดหมวก การผลิตหนังสั้น ประกวดกิจกรรมไก่ย่างท่าพระ           ให้มีความสะอาด

        การแต่งกายไทยย้อนยุค เป็นต้น



        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   327   328   329   330   331   332   333   334   335   336   337