Page 56 - kpi20109
P. 56
5 55
องค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่ว เน้นการพัฒนาการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมของ อย่างไรก็ตาม การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการทำเหมืองแร่นั้นนับว่ามีความจำเป็นที่จะต้อง
ทุกภาคส่วนในการพัฒนาท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยยึดหลัก ดำเนินการให้ถูกต้องตามกฎหมาย เนื่องจากเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและ
“ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไขปัญหา และร่วมรับผิดชอบ” อบต. คลองกิ่ว มุ่งที่จะใช้วิธีการบริหาร สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ อีกทั้งกระบวนการการผลิตอาจทำให้เกิดผลพิษจนส่งผลกระทบต่อประชาชน
งานแบบบูรณาการ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่นเป็นไปอย่างยั่งยืน ในท้องถิ่นหากไม่มีการติดตามตรวจสอบอย่างเคร่งครัด
โดยกระบวนการของการกำหนดนโยบายและการหาแนวทางในการแก้ไขปัญหานั้น อบต.คลองกิ่ว ที่ผ่านมารัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 โดยให้อยู่ในการดูแลของ
จะยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยนำความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นมาร่วมพิจารณา
ในทุกมิติ เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นกลายเป็นชุมชนที่น่าอยู่ โดยมีวิสัยทัศในการดำเนินงานของ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเมืองแร่ (กพร.) แต่ต่อมาได้ดำเนินการถ่ายโอนอำนาจตาม
พระราชบัญญัติให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการในพื้นที่ ทำให้องค์กรปกครอง
ผู้บริหาร คือ “ประชาชนชาวคลองกิ่ว มีความร่มเย็น เป็นสุข มีความสงบ สะดวก สะอาด ส่วนท้องถิ่นจะต้องพัฒนาหน่วยงานและประชาชนในพื้นที่ให้เกิดความตระหนักรู้ถึงความ
ปลอดภัย มีการศึกษาดี มีอาชีพ มีสุขภาพแข็งแรง มีคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดี รับผิดชอบต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ รวมถึงร่วมรับผิดชอบเมื่อมี
โดยการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล” เป็นผลให้การดำเนินงานต่างๆ ขององค์การ การอนุญาตให้เอกชนเข้ามาดำเนินกิจการเหมืองแร่ในพื้นที่ด้วย โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้
บริหารส่วนตำบลคลองกิ่วเป็นไปเพื่อประโยชน์ของประชาชนอย่างแท้จริงตามวิสัยทัศน์ที่เน้น
ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ประชาชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจอนุญาตให้เอกชนเข้ามาดำเนินกิจการเมืองแร่
เป็นผลให้องค์การบริหารส่วนตำบลครองกิ่วได้ดำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ประชาชนในหลายมิติ เพื่อให้ประชาชนได้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจ ร่วมตรวจสอบ ร่วมรับ
ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่ว ผลประโยชน์ และร่วมแก้ไขปัญหาปรึกษาแรกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับการดำเนินการกิจการเหมือง
ได้แก่ แร่ของเอกชน ดังนี้
โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเสริมสร้างความรู้ให้แก่ประชาชนในการดำเนินงานเกี่ยวกับธุรกิจ
ด้านการถ่ายโอนภารกิจเหมืองแร่ตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 เหมืองแร่ โดยวิทยากรจากสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ในหัวข้อเรื่องพื้นฐานเกี่ยวกับเหมืองแร่
และโรงโม่หิน รวมทั้งการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในงานอุตสาหกรรม และหัวข้อการมี
จากสภาพของพื้นที่ทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่ว เป็นที่ราบเชิงเขา
ประชาชนในพื้นที่โดยทั่วไปประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก และมีประชาชนบางส่วนประกอบ ส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการ
อาชีพขุดทราย ล้างทราย ขุดดินลูกรังขาย ต่อมาภาครัฐได้มีการส่งเสริมให้มีการพัฒนาด้าน แร่ธาตุ และน้ำ
อุตสาหกรรม จึงทำให้มีความต้องการทใช้ทรัพยากรในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการดำเนิน กิจกรรมที่ 2 การศึกษาดูงาน ณ โรงงานปูนซีเมนต์นครหลวง (โรงงานแก่งคอย สระบุรี)
การพัฒนาอุสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ หิน และดินทราย ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญสำหรับ โดยองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่วได้นำคณะผู้บริหาร ผู้นำชุมชน และคณะกรรมการอาสา
การก่อสร้างของภาคอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงพื้นที่ในองค์การบริหารส่วนตำบลด้วย สมัครอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเสริมสร้างความรู้ เรื่อง การบริหารจัดการ
ทำให้ในเวลาต่อมาได้มีการเปิดหน้าดินขุดทรายจนกระทั่งลึกไปจนถึงชั้นหิน ซึ่งพบว่าชั้นหิน กิจการด้านอุตสาหกรรมให้อยู่คู่กับชุมชนอย่างปลอดภัย รวมถึงขั้นตอนและกระบวนการผลิต
ดังกล่าว เป็นหินประเภท หินแกรนิต ทำให้เป็นที่ต้องการของผู้ประกอบการหลายรายที่จะเข้ามา ของบริษัทปูนซีเมนต์นครหลวง และศึกษาดูงาน ณ โรงโม่หินอินทรีอะกรีเกต อำเภออู่ทอง
ขอประทานบัตรทำเหมืองแร่หินอุสาหกรรมชนิดหินแกรนิต ในบริเวนพื้นที่องค์การบริหาร จังหวัดสุพรรณบุรี
ส่วนตำบลคลองกิ่ว
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61