Page 60 - kpi20109
P. 60
5 5
ขยะไปทิ้งที่บ่อขยะซึ่งอยู่ในบริเวณของเทศบาลตำบลหัวกุญแจ ตำบลคลองกิ่ว อำเภอบ้านบึง 2. นำมติจากที่ประชาคมมาบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น เพื่อให้จัดทำข้อบัญญัติ
จังหวัดชลบุรี ซึ่งมีเนื้อที่ในการทิ้งขยะกว่า 10 ไร่ อย่างไรก็ตามพบว่าในปัจจุบันพื้นที่ทิ้งขยะ งบประมาณในการจัดซื้อที่ดินในการบริหารจัดการขยะได้ และแต่งตั้งให้ประชาชน
ดังกล่าวไม่สามารถรองรับปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นของ อบต. คลองกิ่ว ได้อีกต่อไปในอนาคต เข้ามามีส่วนร่วมเป็นประชาคมตำบลในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
ดังนั้นในปี พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา อบต. คลองกิ่ว จึงมีแนวคิดในการสร้างความร่วมมือกับ 3. สภาองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่วมีมติเห็นชอบแผนพัฒนาท้องถิ่น และนำ
หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคมในการดำเนินการจัดการปัญหาขยะที่เกิดขึ้น ซึ่งก็ได้ แผนพัฒนาท้องถิ่นเป็นกรอบในการจัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพื่อขอจัดซื้อ
รับความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ เป็นอย่างดี ในเรื่องของการสนับสนุนด้านองค์ความรู้ในการ ที่ดินในการบริหารจัดการขยะ
บริหารจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และการจัดอบรมปลูกจิตสำนึกให้แก่ชุมชนในการ 4. แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดคุณลักษณะของที่ดินที่เหมาะสมสำหรับนำไปใช้เป็น
จัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ชุมชน นอกจากจะมีการจัดอบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับ บ่อขยะ ทั้งหมด 6 คน โดยมีประชาชนเข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการฯ จำนวน 2 คน
การจัดการขยะจากหน่วยงานอื่นๆ แล้ว อบต. คลองกิ่วยังให้ความสนใจในการบริหารจัดการขยะ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ที่ประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการขยะด้วย 5. ตั้งคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาจัดซื้อ
โดยมีการไปศึกษาดูงานในสถานที่จริง เช่น เทศบาลเมืองพิษณุโลก เทศบาลนครนครสวรรค์ ที่ดินที่เหมาะสมสำหรับการจัดทำบ่อขยะ มีประชาชนเข้าร่วมเป็นกรรมการฯ จำนวน
เป็นต้น รวมถึงการดำเนินการตามแนวนโยบายของรัฐบาลในปี พ.ศ. 2560 โครงการ “ประเทศไทย คณะละ 2 คน
ไร้ขยะ” โดยใช้หลัก 3Rs คือ การรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนมีการบริหารจัดการขยะตั้งแต่ 6. เจ้าหน้าที่ อบต. คลองกิ่วร่วมกับผู้นำชุมชน และตัวแทนประชาชนสำรวจที่ดินที่มี
ในระดับครัวเรือน โดยการใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่
ความเหมาะสมในการจัดทำบ่อขยะแห่งใหม่
อย่างไรก็ตาม พบว่าปัญหาเรื่องการจัดการขยะไม่ได้หมดไป เนื่องจากปริมาณขยะในพื้นที่ 7. ประสานขอความอนุเคราะห์ข้อมูลราคาประเมินของที่ดินและราคาซื้อขายที่ดินจาก
ยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ยของปริมาณขยะในปี พ.ศ. 2559 ที่มี สำนักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี
ปริมาณขยะต่อวันอยู่ที่ 20 ตัน/วัน และ ปี พ.ศ. 2560 กลับมีปริมาณขยะเพิ่มสูงขึ้นเป็น
25 ตัน/วัน ซึ่งหากปล่อยไว้อาจทำให้เกิดปัญหาเรื่องมลพิษ กลิ่นและปัญหาของบ่อขยะ 8. ปิดประกาศเผยแพร่และเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศเกี่ยวกับแผนการจัดซื้อ
อาจส่งผลให้เกิดความขัดแย้งของประชาชนในพื้นที่ได้ ดังนั้น อบต. คลองกิ่วจึง ประสาน จัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ 2561 ของอบต. คลองกิ่ว ให้ประชาชนทราบ
ความร่วมมือกับประชาชนในพื้นที่เพื่อระดมความคิดและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาขยะในพื้นที่ 9. คณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้างพิจารณาการจัดซื้อโดยใช้วิธีการเฉพาะเจาะจงในการจัดซื้อ
ผ่านการทำประชาคม ซึ่งมีการดำเนินการดังนี้
ที่ดิน เนื่องจากมีที่ดินที่เหมาะสมในการจัดทำบ่อขยะแห่งใหม่เพียงแห่งเดียวในพื้นที่
1. อบต. คลองกิ่ว ดำเนินการทำประชาคมกับหมู่บ้านทั้ง 9 แห่ง เพื่อให้ประชาชน 10. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุลงพื้นที่ตรวจรับที่ดินที่จะใช้เป็นพื้นที่ทิ้งขยะของ อบต.
ได้ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการขยะหมู่บ้านทั้ง 9 แห่งมีความคิดเห็น คลองกิ่ว
ให้ดำเนินการจัดเตรียมที่ดินที่เหมาะสมเพื่อใช้เป็นบ่อขยะแห่งใหม่และให้มีอาคาร
โรงเรือนสำหรับคัดแยกขยะด้วย
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61