Page 57 - kpi20109
P. 57
56 5
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และข้อวิตกกังวลของประชาชน ไม่ดำเนินการตามที่ได้กล่าวไปเบื้องต้น ก็จะไม่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเหมืองแร่ได้ หรือ
ต่อปัญหาการประกอบกิจการโรงโม่หินที่ประกอบกิจการอยู่ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล การที่กระบวนการผลิตหิน/แร่ ของผู้ประกอบการทำให้เกิดมลพิษต่อชุมชนหรืออาจทำให้เส้นทาง
คลองกิ่วร่วมกับเจ้าของกิจการโรงโม่หินและเหมืองแร่ และได้มีการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ สาธารณะเสียหาย ผู้ประกอบการรายนั้นก็จะต้องออกมาแก้ไขความผิดพลาดนั้นโดยเร็ว เช่น
เกี่ยวกับพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 โดยการรับฟังการบรรยายจากวิทยากรของสำนักงาน การรดน้ำถนนเพื่อไม่ให้เกิดฝุ่น การซ่อมแซมถนน เป็นต้น
อุสาหกรรมจังหวัดชลบุรี
จากการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 ของประชาชน
กิจกรรมที่ 4 ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม โดยองค์การบริหาร ในพื้นที่ ทำให้ผู้ประกอบการตระหนักถึงความสำคัญของสภาพแวดล้อม ความเป็นอยู่ของ
ส่วนตำบลคลองกิ่วจัดให้มีการลงนามบันทึกข้อตกงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่าง ประชาชนในพื้นที่ และลดการขัดแย้งระหว่างประชาชนกับผู้ประกอบการได้เป็นอย่างดี พิจารณา
ผู้ประกอบการเหมืองแร่และโรงโม่หินกับหน่วยงานภาครัฐและผู้แทนจากภาคประชาชน โดยมี ได้จากการที่ไม่พบว่ามีความขัดแย้ง หรือการร้องเรียนผู้ประกอบการในพื้นที่หลังจากที่ได้มีการ
ผู้มาลงนามบันทึก ได้แก่ ฝ่ายองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่วจำนวน 2 คน, ผู้ประกอบการ ดำเนินโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปฏิบัติงานด้านการถ่ายโอนภารกิจ
จำนวน 5 บริษัท, ผู้แทนคณะกรรมการอาสาสมัครฯ สิ่งแวดล้อม จำนวน 9 คน, อุตสาหกรรม เหมืองแร่ ตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 ขึ้น
จังหวัดชลบุรี จำนวน 1 คน, และนายอำเภอ เป็นสักขีพยาน
โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตำบล
กิจกรรมที่ 5 โครงการปลูกจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมรักษ์ท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อมแก่ คลองกิ่ว
ผู้ประกอบการโรงงานในเขต อบต. คลองกิ่ว โดยมีการบรรยายเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของ นอกจากภายในพื้นที่ของตำบลคลองกิ่วจะมีพื้นที่สำหรับการประกอบธุรกิจเหมืองแร่
ภาคอุตสาหกรรมในการป้องกันผลกระทบด้านมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิตให้แก่ผู้ประกอบ ดังที่กล่าวไปข้างต้นแล้ว ยังมีการประกอบธุรกิจด้านอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ หลายชนิดย้าย
การได้ตระหนักรู้ถึงหน้าที่ของตนเองในการรักษาสิ่งแวดล้อมที่อาจเสื่อมโทรมเนื่องจาก ฐานการผลิตเข้ามาอยู่ในเขตพื้นที่มากขึ้น เกิดการอพยพจากต่างที่หลั่งไหลเข้ามาอยู่ใน
การประกอบกิจการเหมืองแร่
พื้นที่เป็นจำนวนมาก และยังมีหน่วยงานขนาดใหญ่ของรัฐหลายแห่งย้ายเข้ามาอยู่ในพื้นที่
กิจกรรมที่ 6 โครงการสร้างเครือข่ายและอบรมฟื้นฟูความรู้เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ อบต.คลองกิ่ว อีกด้วย เช่น เรือนจำกลางจังหวัดชลบุรีที่มีปริมาณนักโทษจำนวน 6,000 คน
สิ่งแวดล้อม เกี่ยวกับหัวข้อเรื่อง ภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโรงโม่หินกับการพัฒนาประเทศ อาศัยอยู่ในเรือนจำแห่งนี้ จึงทำให้มีประชากรเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะเวลาเพียง 6 ปี
และการเฝ้าระวังผลกระทบด้านมลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิตอย่างถูกต้อง (พ.ศ. 2554 – 2560)
เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการสอดส่อง ดูแล รักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ร่วมกับ จากอัตราการเพิ่มขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรม และการย้ายฐานที่ตั้งของหน่วยงานราชการ
องค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่ว
เกิดอัตราการอุปโภค บริโภคสูงขึ้นตามไปด้วย สังเกตได้จากปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้น
จากการดำเนินกิจกรรมที่ 6 กิจกรรมทำให้การดำเนินงานถ่ายโอนภารกิจเหมืองแร่ตาม จากอดีตที่ต้องจัดเก็บในแต่ละวัน โดยปี พ.ศ. 2554 อบต.คลองกิ่วมีปริมาณขยะที่จะต้องเก็บ
พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 ได้รับการร่วมมือจากประชาชนในการสอดส่องดูแลและให้ข้อเสนอ ในแต่ละวันเพียง 5 ตัน/วัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2559 มีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นเป็น 15 – 20 ตัน/วัน
แนะต่างๆ ในการดำเนินงานของผู้ประกอบการ เช่น หากมีผู้ประกอบการจะเข้ามาประกอบธุรกิจ และในปี พ.ศ. 2560 พบว่า มีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นเป็น 20 – 25 ตัน/วัน จากการเพิ่มขึ้นของ
เหมืองแร่จะต้องมีการทำประชาคมกับประชาชนในพื้นที่ และทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ ปริมาณขยะดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการหาแหล่งทิ้งขยะ หรือบ่อขยะที่ไม่เพียงพอต่อ
เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบและปกป้องทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ หากผู้ประกอบการรายใด ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยที่ผ่านมาการจัดการขยะของ อบต. คลองกิ่ว ใช้วิธีการขนย้าย
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61