Page 67 - kpi20109
P. 67

66                                                                                                                                                       6


        ให้เป็น สมาชิกสภาองค์การบริหาร                                                              การยกระดับคุณภาพชีวิต ในการพัฒนาที่ดินของตนเองและมีอาชีพการเกษตร
        ส่วนตำบล 5 คน จากทั้งหมด 16 คน                                                        เช่น ปลูกหน่อไม้เงินล้าน นาข้าว  ข้าวโพด สร้างรายได้ครัวเรือนในตำบลต้าผามอกเฉลี่ยปีละ
        อีกทั้งยังเป็นแบบอย่างให้สตรีในชุมชน                                                  160,000 บาท และเหลือใช้สามารถบริจาคเงินสมทบกองทุนสวัสดิการช่วยเหลือสตรี เด็ก และ
        เปลี่ยนทัศนคติ ความเชื่อเกี่ยวกับ                                                     คนชรา ผู้ด้อยโอกาส โดยปัจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียนกว่า 850,000 บาท

        การแบ่งแยกทางเพศที่สตรีต้องเป็น                                                             สร้างพื้นที่ป่าชุมชน  ส่งผลให้มีพื้นที่ป่าชุมชนเพิ่มขึ้น 6,385 ไร่ ช่วยสร้างระบบนิเวศน์ให้
        ผู้ตามนั้น ซึ่งการประเมินกลุ่มสตรี
        ปรากฏว่า 92% ได้เปลี่ยนแปลง ให้มี                                                     สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เป็นการเพิ่มพื้นที่ป่าและเพิ่มการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนการหาเลี้ยงชีพทั้ง 8 ชุมชน
        บทบาทต่างๆ มากขึ้นของสตรีทั้งหมด                                                            บทเรียนจากการดำเนินงานตามโครงการนี้ ทำให้รู้ว่าวัฒนธรรมและความเชื่อนั้น มีอิทธิพล
        กว่า 2,000 คน ได้มีภูมิคุ้มกันด้านการมี                                               ต่อการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนต้าผามอก ซึ่งมีผลกระทบต่อบทบาทสิทธิและเสรีภาพ จากการ

        บทบาทในครัวเรือนและชุมชน รวมทั้ง                                                      แก้ไขปัญหาความไม่เสมอภาคทางเพศของกลุ่มสตรีดังกล่าว ถือว่าประสบความสำเร็จ ทำให้สตรี
        การพัฒนาตนเองด้านอาชีพและทักษะ                                                        และเด็กหญิงมีความเสมอภาคทางเพศ ในการดำเนินชีวิตได้โดยไม่พึ่งพาเพศชาย โดยสามารถ
        การสร้างรายได้                                                                        สร้างบทบาทของสตรีให้เป็นผู้นำระดับชุมชน  และตัวแทนทางการเมืองท้องถิ่น ซึ่งสามารถลบล้าง
                                                                                              ความเชื่อทัศนคติที่ว่าสตรีเป็นผู้ตามเพศชายเท่านั้น และสามารถดำเนินชีวิตโดยมีอาชีพ และฐานะ
              การแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำ
        มีตัวแทนกลุ่มสตรี  16 ครัวเรือน เข้ามา                                                ในครัวเรือนที่ดีขึ้น มีอาหารและน้ำเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภค มีรายได้ที่มั่นคงจากการเกษตร
                                                                                              และส่งมอบป่าชุมชนที่สมบูรณ์ให้แก่สังคมโดยรวม
        มีบทบาทในการบริหารจัดการน้ำ และ
        เป็นแกนนำเครือข่ายให้แก่สตรีและ                                                       การจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแบบมีส่วนร่วม
        ประชาชน จำนวน 1,616 ครัวเรือน                                                               การจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแบบมีส่วนร่วมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหาร
        ในการบริหารจัดการน้ำ โดยสร้างแหล่ง                                                    ส่วนตำบลต้าผามอก เป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและประชาชน
        เก็บน้ำ เช่น อ่างเก็บน้ำ 10 อ่าง สระ                                                  เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
        เก็บน้ำ 57 สระ  ฝายเก็บน้ำ 13 ฝาย

        สามารถเก็บน้ำได้เพียงพอ  เพื่อส่งน้ำใช้                                                     ดังนั้นเพื่อเป็นการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ถูกวิธีและทั่วถึง และเป็นการเปิดโอกาสให้ทุกฝ่าย
        ในครัวเรือนและพื้นที่การเกษตร  เป็น                                                   ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการร่วมกัน ทั้งครู พ่อแม่ ชุมชน ร่วมกันมีบทบาทในการอบรม
        น้ำอุปโภค บริโภค  83,220 ลบ.ม.และ                                                     เลี้ยงดู ให้การศึกษา จัดหลักสูตร และการบริหารจัดการให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ที่กลมกลืน
        การเกษตร  17,497,100 ลบ.ม. ครบทุก                                                     เหมาะสมกับท้องถิ่น  รวมทั้งเพื่อเป็นการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ
        ครัวเรือน อย่างถึงการร่วมกันบริหาร                                                    และเป็นที่ยอมรับ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองในด้านการจัดการ

        จัดการแบ่งปันน้ำตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ                                                 ศึกษาในการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมกำกับ ร่วมตรวจสอบการดำเนินงาน และ
        และปลายน้ำ อย่างทั่วถึงและยุติธรรม                                                    ร่วมประเมินผลกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก




        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72