Page 70 - kpi20109
P. 70
6 6
ทั้งนี้ การจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแบบมีส่วนร่วม จะประสบผลสำเร็จหรือไม่ขึ้นอยู่กับ การดำเนินงานในรูปแบบศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแบบมีส่วนร่วม ได้ส่งผลต่อความร่วมมือของทุก
ปัจจัยที่ก่อเกิดผลสำเร็จในการจัดการแบบมีส่วนร่วม ได้แก่ ภาคส่วนในการพัฒนาการศึกษา ดังนี้
4 การอบรมเลี้ยงดู 4 คณะกรรมการสถานศึกษา กำหนดการพัฒนาการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
4 การติดต่อสื่อสาร ให้มีคุณภาพและมีมาตรฐาน โดยมีคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา จำนวน
4 การมีจิตอาสาหรืออาสาสมัคร 12-15 คน อีกทั้งคณะกรรมการฯ ยังมีหน้าที่เป็นแกนนำในการสร้างเครือข่าย
4 การมีส่วนร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่าย ผู้ปกครองนักเรียนในทุกหมู่บ้าน เพื่อประสานงานเกี่ยวกับการจัดการเลี้ยงดูและ
การศึกษาของเด็กนักเรียน
การดำเนินงานในรูปแบบศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแบบมีส่วนร่วมนั้นเน้นการมีส่วนร่วม
โดยมีคณะกรรมการภาคประชาชนเป็นหลัก และมีการแบ่งบทบาทหน้าที่กัน โดยมีจุดมุ่งหมายคือ 4 ผู้ปกครอง ให้ความร่วมมือในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่เด็กตลอดจนการเลี้ยง
การพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพและมีความรู้และทักษะในด้านการศึกษา อาทิ ดูเด็กให้ถูกวิธีเพื่อให้เด็กเกิดการพัฒนาที่เหมาะสมตามวัย จัดทำสื่อประสบการณ์
เกี่ยวกับร่างกาย บทบาทหน้าที่การพลเมืองที่ดี
4 แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากตัวแทนผู้ปกครอง ร่วมกำหนด
แนวทางส่งเสริมและสนับสนุน การดำเนินการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในด้านต่างๆ 4 ครู/บุคลากรทางการศึกษา ดูแลในเรื่องการอบรมดูแลและจัดประสบการณ์ให้แก่เด็ก
ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานตามที่กำหนดไว้ เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน เช่น การดำเนินการตามกิจกรรม
6 หลักเสริมสร้างพัฒนาการ
4 แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับอาหารกลางวัน ตรวจสอบการประกอบอาหารของ
ผู้ประกอบการรวมถึงการกำหนดเมนูอาหารให้มีคุณภาพและถูกต้องตามหลัก 4 ผู้สูงอายุ ช่วยสร้างเสริมความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
โภชนาการ มาถ่ายทอดให้แก่เด็กปฐมวัย เช่น มาสอนเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น (การจักสาน
พับนก การละเล่นพื้นบ้าน ฯลฯ)
4 แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาสื่อการเรียนการสอน วัสดุการศึกษา และเครื่องเล่น
พัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยคณะกรรมการร่วมกันพิจารณาสื่อที่เหมาะสมกับ 4 ชุมชน ช่วยในเรื่ององค์ความรู้สิ่งแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ให้เด็กปฐมวัยได้ไป
พัฒนาการเด็ก ทำให้เด็กได้สื่อการเรียนการสอนที่มีประโยชน์และสามารถเสริมสร้าง ศึกษานอกสถานที่เพื่อเสริมสร้างความรู้ มีประสบการณ์ที่น่าจดจำ และคนในชุมชน
พัฒนางานให้เหมาะสมตามวัย คอยเป็นแรงเสริมให้กำลังใจให้แก่เด็กปฐมวัย
4 การมีผู้นำชุมชน และปราชญ์ชาวบ้านเข้าร่วมจัดทำหลักสูตรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่าการจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแบบมีส่วนร่วม เป็นกิจกรรมที่กองการ
ศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลต้าผามอก ริเริ่มขึ้นมาโดยใช้หลักการมีส่วนร่วมในการยกระดับ
และเพิ่มโอกาสให้เด็กปฐมวัยได้ครบทุกด้าน เป้าหมายอยู่ที่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบล
ต้าผามอกที่อายุ 2-5 ปี โดยการมีส่วนร่วมในการจัดหลักสูตรตรงตามหน่วยจัดประสบการณ์
ที่เหมาะสมตามวัยให้ครบทั้ง 4 ด้าน คือร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งจาก
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61