Page 65 - kpi20109
P. 65
6 65
โครงการพลังสตรีต้าผามอก พลังแห่งชีวิต 4 การส่งเสริม พัฒนา และให้ความรู้ เกี่ยวกับบทบาทในครัวเรือนและการมีส่วนร่วม
(Power of Tapamok Women Group: Power of Life) ในชุมชน โดยการส่งเสริมให้สตรีเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการชุดต่างๆในชุมชน
ชุมชนต้าผามอกเป็นชุมชนที่มีความเชื่อว่าเพศชายเป็นช้างเท้าหน้า เพศหญิงเป็นช้างเท้า 4 การจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ เพื่อให้มีน้ำอย่างเพียงพอ โดยการส่งเสริมให้สตรีกลุ่มที่
หลัง ซึ่งจากความเชื่อดังกล่าวทำให้เพศหญิงต้องเป็นผู้ตามหลังผู้ชายเสมอ และจะถูกกีดกันให้ มีปัญหาเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของตนเอง และเป็นแกนนำในการสร้าง
ประจำอยู่กับบ้านเท่านั้น ไม่มีบทบาททางสังคมและทักษะด้านอาชีพใดๆ เมื่อสตรีเหล่านี้ขาด เครือข่ายไปสู่ทุกครัวเรือนในพื้นที่
ชายซึ่งเป็นผู้นำครอบครัว จากสาเหตุสามีเสียชีวิต ทุพลภาพ แก่ชรา ติดคุก ฯลฯ ย่อมส่งผลให้ 4 การพัฒนาทักษะและความรู้ ในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ โดยอาศัย
เพศหญิงดูแลตนเองไม่ได้ เพราะขาดทักษะและความรู้ในการประกอบอาชีพ ส่งผลต่อฐานะของ การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ และการพัฒนาที่ดินของตนเอง ให้ปลูกพืชเศรษฐกิจ
ครอบครัวและปัญหาทางครอบครัวต่างๆ ตามมา
ที่สามารถสร้างรายได้อย่างยั่งยืน
จากเหตุดังกล่าว อบต.ต้าผามอก จึงเห็นว่าปัญหานี้มีความสำคัญต่อบริบทการพัฒนาพื้นที่ 4 การดำเนินการสร้างป่าต้นน้ำอย่างจริงจัง ทั้ง 8 หมู่บ้าน เพื่อหนุนเสริมทั้งด้านคุณภาพ
ในปัจจุบัน จึงได้ดำเนินการประชาคม เพื่อค้นหาสตรีกลุ่มเป้าหมายและเชิญมาร่วมถอดบทเรียน ชีวิต การเกษตร และสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่
เพื่อร่วมคิด ร่วมเสนอแนะและดำเนินการในกิจกรรมต่างๆ ที่จะนำไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่
สตรีในตำบลต้าผามอก โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ ได้แก่ หลังจากเริ่มดำเนินการตามมาตรการต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น อบต.ได้แต่งตั้งตัวแทน
กลุ่มสตรีเข้าร่วมแก้ไขปัญหาของตนเองและเป็นแกนนำเครือข่ายให้แก่สตรีทั้งตำบล ผ่าน
1. สร้างศักยภาพและส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศให้กับกลุ่มสตรีที่มีปัญหา คณะกรรมการชุดต่างๆ อาทิ คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำ ซึ่งมีหน้าที่ในการวิเคราะห์ปริมาณน้ำ
ในครอบครัว ให้ได้มีบทบาทความเป็นผู้นำครอบครัว
การจัดหาแหล่งน้ำ การแบ่งปันน้ำให้เป็นไปอย่างเท่าเทียมกันทุกชุมชนหรือคณะกรรมสตรีตำบล
2. ยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มสตรี โดยการสร้างอาชีพให้มีรายได้และฐานะทาง ต้าผามอกที่มีหน้าที่ในการช่วยเหลือสตรีและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่หรือคณะกรรมการบริหารจัดการ
เศรษฐกิจที่ดีขึ้น ป่าชุมชนที่มีหน้าที่ค้นหาพื้นที่ปลูกป่าชุมชน บริหารจัดการจัดการป่าชุมชน โดยร่วมกับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องทั้งภาคส่วนราชการและเอกชน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังเน้นการดำเนินงานแบบ
3. หนุนเสริมให้กลุ่มสตรี ได้แสดงบทบาทการพัฒนาและแก้ปัญหาในชุมชนหรือพื้นที่ โปร่งใส่ ตรวจสอบได้ ในกิจกรรมต่างๆ โดยให้กลุ่มสตรีเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบ
อาทิ การแก้ไขปัญหาความแห้งแล้งกับทุกภาคส่วน การบริหารจัดการน้ำอย่างทั่วถึง งบประมาณ คุณภาพของผลผลิตโครงการ และร่วมติดตามประเมินผลโครงการที่ดำเนินการ
และยุติธรรม เป็นต้น อีกทั้งยังนำไปสู่ผลพลอยได้ ที่เป็นการสร้างพื้นที่ป่าชุมชน ทุกโครงการ
ซึ่งเป็นต้นน้ำ มาสร้างระบบนิเวศน์ให้สมบูรณ์ขึ้น
ปัจจุบันความสำเร็จของโครงการฯ ได้นำไปสู่การพัฒนาพื้นที่ อบต.ต้าผามอก ในมิติต่างๆ
สำหรับการดำเนินงานตามโครงการนั้น เริ่มจากการค้นหาสตรีที่ประสบปัญหาในการใช้ ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้
ชีวิต โดยหลังจากการลงพื้นที่ทั้ง 8 หมู่บ้าน พบว่ามีสตรีจำนวน 42 ครัวเรือน ที่ อบต.จะต้อง
เข้าไปดำเนินการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน โดย อบต.ต้าผามอก ได้ดำเนินการช่วยเหลือในมิติต่างๆ ส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ ในประเด็นภาวะผู้นำของสตรีต่อครัวเรือนและสังคมนั้น
ทั้งคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ การพัฒนาทักษะและอาชีพ ตลอดจนสภาพแวดล้อมต่างๆ ส่งผลให้สตรีจำนวน 42 ครัวเรือน คิดเป็น 100 % สามารถใช้ชีวิตโดยไม่มีเพศชาย และสามารถ
ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมาตรการการดำเนินการ ได้แก่ สร้างฐานะให้มั่นคงด้วยตนเองได้ รวมถึงมีสตรีเข้าสู่แวดวงการเมืองท้องถิ่น โดยได้รับการเลือกตั้ง
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61