Page 78 - kpi20109
P. 78
6
เทศบาลนครเชียงราย มีแนวคิดในการพัฒนาเมืองควบคู่ไปกันการพัฒนาคน เนื่องจาก เทศบาลนครเชียงราย ที่มีประชากรทั้งหมด 74,226 คน มีผู้สูงอายุ 11,519 คน คิดเป็น
คนเป็นสิ่งที่จะวัดอนาคตของเมืองและชุมชนจะพัฒนาก้าวไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด ร้อยละ 15.51 (ข้อมูล ณ ก.ย.59) แบ่งเป็นกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม ซึ่งมีอายุระหว่าง 60-70 ปี
ยึดหลักการพัฒนาที่น้อมนำพระราชปณิธานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน มีอายุตั้งแต่ 70-80 ปี และกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียงหรือมีความเสี่ยงที่จะเป็น
ที่ว่า “ปลูกป่า สร้างคน” โดยในที่นี้ “ปลูกป่า” หมายถึง การสร้างเมืองให้เติบโตในทิศทาง ผู้สูงอายุติดเตียง เมื่อศึกษาเชิงลึกในมิติสังคมวัฒนธรรม พบว่าผู้สูงอายุในพื้นที่มองคุณค่าของ
ที่สอดคล้องกัน ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หากเทศบาลมีระบบ ตัวเองลดลง เนื่องจากเคยสามารถทำงานได้และมีหน้ามีตาในสังคมแต่ปัจจุบันกลับไม่เป็นที่สนใจ
โครงสร้างพื้นฐานที่ดีเพียงพอและทั่วถึง ย่อมส่งผลต่อการดึงดูดนักท่องเที่ยวและนักลงทุนให้เข้า อีกทั้งชุมชนในพื้นที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุแสดงออกถึงคุณค่าของตัวเองลดน้อยลง ประกอบกับ
มาในพื้นที่และกระตุ้นเศรษฐกิจให้ดีขึ้น สำหรับการ “สร้างคน” หมายถึง ปลูกฝังให้คนมีคุณภาพ สุขภาพที่ไม่แข็งแรงอย่างแต่ก่อน จึงนำไปสู่ปัญหาสภาพจิตใจของตัวผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังพบ
คุณธรรมและจริยธรรมโดยใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือ การพัฒนาคนควรเริ่มตั้งแต่ช่วงวัยเด็กและ ปัญหาช่องว่างทางความคิดระหว่างผู้สูงอายุและครอบครัวด้วยวัยที่แตกต่างกัน และความคาดหวัง
เยาวชน เพื่อให้พวกเขาเติบโตเป็นคนรุ่นใหม่ที่มีความรู้คู่คุณธรรมพร้อมทั้งเป็นผู้สืบทอด ที่ผู้สูงอายุและครอบครัวมีต่อกัน เช่น ผู้สูงอายุมองว่าครอบครัวควรดูแลเขาได้มากกว่านี้
การพัฒนาบ้านเมือง นอกจากนี้ยังต้องพัฒนาคนในทุกกลุ่มวัยเพราะทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ในคณะที่ครอบครัวไม่สามารถดูแลได้อย่างเต็มที่เพราะต้องออกไปทำงาน เป็นต้น
สังคมให้เป็นเมืองที่น่าอยู่อย่างยั่งยืน
แม้ว่าปัญหาที่กล่าวมาจะไม่ได้ส่งผลปรากฏออกมาให้เป็นความขัดแย้งที่ชัดเจน แต่ใน
เทศบาลนครเชียงรายเชื่อว่าเมื่อคนมีคุณภาพคุณธรรมจริยธรรมแล้ว ย่อมก่อให้เกิด อนาคตหากจำนวนผู้สูงอายุมากขึ้นปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นจะมีความรุนแรงขึ้น และมีโอกาสที่จะนำ
ความสงบสุขในสังคม เกิดความรักและความสามัคคี และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ เทศบาล ไปสู่ความขัดแย้งในสังคมได้ เทศบาลนครเชียงรายมีความตระหนักถึงปัญหาในเรื่องนี้ จึงจัดทำ
ได้วางยุทธศาสตร์การเสริมสร้างสังคมสันติสุขสมานฉันท์ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน โครงการเพื่อเป็นการป้องกันยับยั้งปัญหาก่อนที่จะนำไปสู่ความขัดแย้งในอนาคต เกิดเป็นโครงการ
ในการพัฒนาสังคมและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนภายใต้ความหลากหลายทางเชื้อชาติ พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ทั้งหมด 2 โครงการ คือ โครงการมหาวิทยาลัยวัยที่สามนครเชียงราย
และวัฒนธรรม โดยร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน เพื่อแก้ปัญหาและ และโครงการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม
พัฒนาเมืองอย่างบูรณาการในทุกมิติเพื่อให้เทศบาลนครเชียงราย เป็นดังวิสัยทัศน์ที่ว่า
“เชียงรายเป็นเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข” โครงการมหาวิทยาลัยวัยที่สามนครเชียงราย
เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากความตระหนักของผู้บริหารเทศบาลนครเชียงรายต่อปัญหา
สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ
ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ของเทศบาลนครเชียงราย ได้แก่ ที่จะตามมาหลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเต็มที่ หากไม่เตรียมความพร้อมและแก้ไขปัญหาล่วงหน้า
อาจทำให้ปัญหาใหญ่โต นำไปสู่ความขัดแย้งในสังคมได้เทศบาลจึงได้วางระบบการพัฒนาผู้สูงอายุ
โครงการมหาวิทยาลัยวัยที่สามนครเชียงราย ให้มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกาย จิตใจ สังคมและปัญญา จึงเกิดแนวคิดที่จะสร้างพื้นที่ให้กับผู้สูงอายุ
University of The Third Age Nakornchiangrai (U3A.) ได้มาพบปะพูดคุย เรียนรู้กับเพื่อนในวัยเดียวกัน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เทศบาล
จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคมไทยที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง นครเชียงรายโดยสำนักการศึกษา และกองสวัสดิการ จึงได้รวบรวมเครือข่ายหน่วยงาน
ในขณะที่ประชากรวัยเด็กในประเทศลดลง เนื่องจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและการแพทย์ หลายภาคส่วน อาทิ ภาคประชาชน ปราชญ์ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มหาวิทยาลัย
ซึ่งการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุนี้ส่งผลกระทบในสังคม เช่น จำนวนแรงงานที่ลดลง ประชากรในวัย แม่ฟ้าหลวง สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย
ทำงานต้องแบกรับภาระการดูแลผู้สูงอายุ และภาครัฐต้องเตรียมการดูแลผู้สูงอายุในหลายรูปแบบ สำนักพุทธศาสนาจังหวัด สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด สมาคมศิริกรณ์เชียงราย ศูนย์ป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยเขต 15 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ร่วมกันเข้าร่วมเป็นกรรมการ
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61