Page 81 - kpi20109
P. 81

0                                                                                                                                                        1


        กิจกรรมและพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ เป็นข้อมูลและระบบสารสนเทศสำหรับใช้ในการ          ในพื้นที่ตระหนักและเข้าใจสุขภาพของตนเองมากขึ้น สามารถดูแลสุขภาพและทำความเข้าใจ
        ออกแบบแนวทางและพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ 8,141 ครัวเรือนจนนำไปสู่การจัดทำ   ร่วมกับครอบครัวเพื่อให้พร้อมสำหรับการดูแล และการรับมือเกี่ยวกับสถานการณ์สุขภาพ
        แผนและแนวทางในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครเชียงราย            ของตนเองในอนาคตได้ มีการให้ความรู้ในการดูแลตนเองและเฝ้าระวังโรคที่อาจเกิดขึ้น
        จัดพื้นที่กลางสำหรับทำกิจกรรมผู้สูงอายุ ทั้ง 5 โซน น้อมนำศาสตร์ของพระราชาสู่การปฏิบัติจริง  ผู้สูงอายุในกลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลจากอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ลดภาวะไม่พึงประสงค์

        ในชุมชน และใช้กลยุทธ์ 5 อ. 5 ก. (*ออกกำลังกาย *การลดอุบัติเหตุ *อาหาร *การพัฒนาชมรม     ของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุในชุมชนเกิดทัศนคติที่ดี สร้างสุขทั้งต่อครอบครัวและตนเอง
        ผู้สูงอายุ *อาชีพ *การพัฒนาโรงเรียนผู้สูงอายุ *ออม *การดูแลต่อเนื่อง *อาสา *กายอุปกรณ์)
                                                                                                    ท้ายที่สุดแล้วโครงการมหาวิทยาลัยวัยที่สามนครเชียงราย และโครงการดูแลผู้สูงอายุแบบ
        ทำให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกันซึ่งนอกจากจะส่งเสริมสุขภาพกาย และจิตใจของผู้สูงอายุ     องค์รวม เป็นโครงการที่มุ่งเพื่อที่จะป้องกันความขัดแย้งอันเกิดจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุล่วงหน้า
        แล้วยังสร้างความสมานฉันท์ ความสุข และความสามัคคีให้กับผู้สูงอายุในชุมชน เกิดเป็น      เป็นการสร้างความพร้อมให้กับตัวผู้สูงอายุเอง ให้ผู้สูงอายุเห็นคุณค่าในตัวเอง สามารถดูแล
        กลุ่มจิตอาสา และแกนนำผู้สูงอายุ ซึ่งจะได้รับการพัฒนาศักยภาพความรู้และความเป็นผู้นำต่อไป
                                                                                              ตัวเองได้ มีความเป็นส่วนหนึ่งของสังคมชุมชนที่จะพัฒนาเมืองต่อไป และสร้างความพร้อมให้

              การดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียงนั้นเทศบาลนครเชียงรายได้จัดตั้ง ศูนย์พัฒนา  ครอบครัวของผู้สูงอายุ ให้เข้าใจถึงสภาพร่างกายและจิตใจของผู้สูงอายุเพื่อให้สามารถดูแล
        คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ ตั้งคณะกรรมการโดยให้เครือข่ายภาคประชาชนเป็น          ผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดความสันติสุขในครอบครัวและขยายออกไปสู่ในระดับชุมชน
        ผู้บริหารจัดการ ผู้สูงอายุที่มารับบริการ ณ ศูนย์ฯ มีความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน   ต่อไป
        (ADL) ได้ดีขึ้น มีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น มีทัศนคติคุณค่าต่อตนเองมากขึ้น ลดภาระการพึ่งพิงต่อ
        บุคคลในครอบครัว ครอบครัวมีความเข้าใจและสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม

        ลดความขัดแย้งในครอบครัว นอกจากนี้ยังมีการร่วมจัดกิจกรรมอบรมหลักสูตร
        ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ และหลักสูตรผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุของกรมอนามัยกับภาคีเครือข่าย
        ผลิตบุคลากรในการดูแลผู้สูงอายุ ทำให้เกิดผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ(CG) ที่มีความรู้ ทักษะและ
        สามารถดูแลผู้สูงอายุที่บ้านได้เป็นอย่างดี รวมทั้งผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุ (CM ) ที่มีความรู้ ทักษะ
        สามารถวางแผนและให้การดูแลผู้สูงอายุที่บ้านได้ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
        โดย ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ ผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุและทีมสหสาขาวิชาชีพ


              เครือข่ายในหลายภาคส่วนได้ร่วมมือกันจัดกิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ โดยการ
        คัดกรองความเสี่ยงโรค เช่น การคัดกรองสายตา เบาหวาน ความดัน สุขภาพช่องปาก ภาวะ
        ซึมเศร้า ความเสี่ยงต่อการหกล้ม ภาวะสมองเสื่อม และคัดกรองความสามารถในการดูแล
        กิจวัตรประจำวันและการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งหมด 11 กลุ่มอาการ ซึ่งใช้งบประมาณจากกองทุน
        หลักประกันสุขภาพเทศบาลนครเชียงราย มีการจัดกิจกรรพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ
        ในวันจ่ายเบี้ยผู้สูงอายุและผู้พิการประจำเดือน อาทิ ฝึกปฏิบัติการนวดด้วยตนเอง การวัด

        ความดันโลหิตและให้คำแนะนำด้านสุขภาพ เป็นต้น จากการคัดกรองผู้สูงอายุทำให้ผู้สูงอายุ



        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86