Page 80 - kpi20109
P. 80
มหาวิทยาลัยวัยที่สามเชียงรายเพื่อพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ผู้สูงอายุ และจัดทำหลักสูตรสำหรับ 20 เมษายน 2560 ที่ผู้สูงอายุได้เข้าเรียนมหาวิทยาลัยฯ ในรุ่นแรก ปัจจุบัน (กันยายน 2560)
ผู้สูงอายุทั้งหมด 8 หลักสูตร ประกอบด้วย 1. หลักสูตรด้านศาสนา 2. หลักสูตรด้าน มีผู้สูงอายุที่มาเรียนและร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยมากถึงถึง 414 คน
ศิลปวัฒนธรรม (วิชาดนตรีพื้นเมือง วิชาฟ้อนเล็บ วิชาฟ้อนสาวไหม) 3. หลักสูตรสิ่งแวดล้อม
4. หลักสูตรการท่องเที่ยว 5. หลักสูตรเทคโนโลยีและการสื่อสาร (วิชาคอมพิวเตอร์ วิชาภาษา โครงการ การดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม
อังกฤษเบื้องต้น วิชาภาษาจีนเบื้องต้น) 6. หลักสูตรสังคมและความสุข (วิชาไลน์แดนซ์ วิชาลีลาศ จากสถานการณ์ผู้สูงอายุในโครงการแรก เทศบาลนครเชียงรายได้สำรวจประเมิน
วิชารำวงมาตรฐาน) 7. หลักสูตรสุขภาพ (วิชาสุขภาพผู้สูงวัย วิชาโยคะ) และขยายพื้นที่ให้บริการ กิจวัตรประจำวัน (ADL) ของผู้สูงอายุในพื้นที่จำนวน 6,409 คน และได้แบ่ง/จำแนก
โดยจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตที่กระจายอยู่ในชุมชนต่างๆ จำนวน 5 ศูนย์การเรียนรู้ แบ่งตาม ผู้สูงอายุออกเป็น 3 กลุ่ม เพื่อเตรียมความพร้อมในการดูแล กล่าวคือ กลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม
โซน 5 โซน เพื่อรองรับการทำงานและกลไกการพัฒนาผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 95 กลุ่มติดบ้าน คิดเป็นร้อยละ 4 และกลุ่มติดเตียง คิดเป็นร้อยละ 1 ซึ่งเทศบาล
นครเชียงรายเห็นว่าการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุต้องดำเนินการต่อเนื่องแบบองค์รวม เริ่มตั้งแต่
โครงการมหาวิทยาลัยวัยที่สามเชียงราย ก่อให้เกิดผลลัพธ์อันเป็นการป้องกันปัญหาที่จะ ก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงอายุจนกระทั่งเข้าสู่วาระสุดท้ายของชีวิต ดังนั้น เทศบาลนครเชียงรายร่วมกับ
เกิดขึ้นตามมาจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์ โดยในแต่ละหลักสูตรได้มุ่งเน้นให้เกิดผลลัพธ์ที่ เครือข่ายทั้งภาครัฐและภาคประชาชนในการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง โดยในภาคประชาชน
แตกต่างกัน เช่น หลักสูตรการท่องเที่ยว ทำให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และเรียนรู้ มีการจัดการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านการดูแลสุขภาพ ส่งเสริมให้เกิดผู้สูงอายุต้นแบบ
ประวัติศาสตร์ทำให้มีความภูมิใจในวัฒนธรรมและความเป็นล้านนาของตนเอง และได้ถ่ายทอด เป็นแกนนำหลักจากกลุ่มติดสังคมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคนอื่นทั้ง 64 ชุมชน ทำให้เกิด
ประสบการณ์ เล่าเรื่องของบ้านเมือง สังคม ประวัติศาสตร์ให้กับชุมชนและโรงเรียน ทำให้ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุประจำครอบครัวทั้ง 64 ชุมชน จำนวน 89 คน และทำให้เกิดผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนมีคุณค่ามากขึ้น หลักสูตรเทคโนโลยีและการสื่อสาร สอนให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ ต้นแบบ 240 คน สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียงจะให้บริการผ่านระบบศูนย์พัฒนา
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคอย่าง computer, smart phone และ application อย่าง Line Facebook คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และผู้พิการ โดยจัดบริการกายภาพบำบัดและกิจกรรมฟื้นฟูอื่นๆ พร้อมทั้ง
เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารกับคนในครอบครัว และผู้อื่นได้ เป็นการลดช่องว่างระหว่างผู้สูงอายุและ จัดทีมลงให้บริการในชุมชนและติดตามความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
คนในครอบครัว ทำให้ผู้สูงอายุรับรู้ข่าวสารมากขึ้นและมีความทันสมัยมากขึ้น อีกทั้งหลักสูตร จะดำเนินกิจกรรมควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านอื่นๆ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุในสังคมต่อไป
ยังสอนการสื่อสารในภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ทำให้ผู้สูงอายุสามารถพูดคุยกับนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติ และพูดคุยกับบุตรหลานได้ เพราะเป็นสิ่งที่บุตรหลานได้รับการสอนมาจากโรงเรียน สำหรับเครือข่ายภาครัฐนั้นประกอบด้วยเครือข่ายหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่
เช่นกัน หลักสูตรสุขภาพที่สอนให้ผู้สูงอายุรู้จักการพึ่งพาอาศัยตนเอง มีศักดิ์ศรี และแนะนำ 6 แห่ง (โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์, ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล 1 น้ำลัด,
คนอื่นได้ ผู้สูงอายุจะรู้วิธีการดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพจิตใจของตน อาทิ การเรียนวิชาโยคะ ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล 2 สันหนอง, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรอบเวียง,
ทำให้ผู้สูงอายุสามารถรักษาอาการเจ็บปวดจากเส้นตึง เส้นยึด ด้วยตัวเองในเบื้องต้นได้ เป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสันตาลเหลือง, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวฝาย)
ทำหน้าที่ในการประเมินความต้องการบริการด้านสาธารณสุข และจัดทำแผนพยาบาลดูแล (care
หลักสูตรที่มหาวิทยาลัยวัยที่สามสอนผู้สูงอายุนั้น จะเน้นการทำให้ผู้สูงอายุสามารถ plan) ผู้สูงอายุรายบุคคล และ Care conference มีการตั้งศูนย์การเรียนรู้ผู้สูงอายุ 5 โซน
ดูแลตัวเองในเบื้องต้น ผู้สูงอายุได้พบเพื่อนในวัยเดียวกันที่สามารถพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องต่างๆ ครอบคลุม 64 ชุมชน ตั้งคณะกรรมการศูนย์การเรียนรู้ผู้สูงอายุทั้ง 5 โซน ซึ่งเป็นคณะทำงาน
มีความรักและสามัคคีกัน ตลอดจนได้ใช้ความสามารถของตนไปทำประโยชน์ให้กับชุมชน สังคม ขับเคลื่อนงาน และกิจกรรมต่างๆ เพื่อดูแลผู้สูงอายุ โดยมีตัวแทนผู้สูงอายุเป็นผู้ร่วมเสนอ
ทำให้ผู้สูงอายุเห็นคุณค่าที่มีอยู่ในตัวเอง เป็นการลดปัญหาโรคซึมเศร้า และลดปัญหา ข้อคิดเห็น วางแผนและออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละชุมชน มีการสำรวจ
ช่องว่างทางความคิดระหว่างผู้สูงอายุกับครอบครัวทำให้มีความเห็นอกเห็นใจกันมากขึ้น ตั้งแต่วันที่
ผู้สูงอายุในเขตเทศบาล 64 ชุมชนทำให้เกิดชุดข้อมูลผู้สูงอายุเพื่อใช้ในการออกแบบแนวทาง
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61