Page 54 - kpi20852
P. 54
การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ
ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
3.3 การประมาณการดุลงบประมาณและหนี้สาธารณะระยะ 54.93 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 แต่ทั้งนี้ ก็ยังเป็นระดับที่อยู่ภายใต้
ปานกลาง ระดับเพดานที่คณะกรรมการฯ กำหนด (ไม่เกินร้อยละ 60) ตาม พ.ร.บ.
ภายใต้สมมติฐานที่กำหนดในกรณีฐาน การจัดทำงบประมาณในช่วง วินัยการเงินการคลังฯ นอกจากนี้ หากพิจารณาถึงสัดส่วนภาระหนี้ของ
ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึง 2570 จะเป็นการจัดทำงบประมาณ รัฐบาลต่อประมาณการรายได้ประจำปี พ.ศ 2563 ถึง พ.ศ.2570 พบว่า
แบบขาดดุลต่อเนื่องทุกปี การขาดดุลงบประมาณน่าจะอยู่ในช่วงระหว่าง มีสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 24.24 ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบ พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลัง
454,000 ล้านบาท ถึง 642,037 ล้านบาท ซึ่งเป็นการขาดดุลงบประมาณ ที่คณะกรรมการฯ กำหนดไว้ที่ร้อยละ 35
เฉลี่ยปีละ 542,669 ล้านบาท เมื่อพิจารณาสัดส่วนการขาดดุลงบประมาณ เป็นที่น่าสังเกตว่า การจัดทำงบประมาณในช่วงระหว่าง
ต่อ GDP การขาดดุลงบประมาณประจำปีของรัฐบาลจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึง 2570 เป็นแบบขาดดุลต่อเนื่องทุกปีแสดง
ร้อยละ 2.59 ต่อ GDP ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพิ่มสูงขึ้นเล็กน้อยเป็น ให้เห็นว่า รายได้ที่จัดเก็บได้ไม่เพียงพอสำหรับรายจ่ายรัฐบาลในแต่ละปี
ร้อยละ 2.65 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 (ตารางที่ 3.7) หากพิจารณา ดังนั้น รัฐบาลจึงควรต้องหาแหล่งรายได้เพิ่ม เพื่อให้เพียงต่อความ
เปรียบเทียบกับแผนการคลังระยะปานกลางของรัฐบาลในช่วงระหว่าง ต้องการใช้จ่ายของรัฐบาล
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 พบว่า งานศึกษานี้ประมาณการขนาดการ นอกจากนี้ หากพิจารณาหนี้สาธารณะคงค้างสุทธิที่ไม่นับรวมหนี้ที่
ขาดดุลงบประมาณต่ำกว่าที่รัฐบาลประมาณการไว้โดยเฉลี่ยปีละ 67,113 รัฐบาลกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ (FIDF) ต่อ GDP
ล้านบาท อันเป็นผลส่วนหนึ่งจากผลประมาณการรายได้ที่สูงกว่าเป็นสำคัญ
พบว่า ช่วงที่ผ่านมามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ
เมื่อพิจารณาดุลงบประมาณเบื้องต้น (ไม่นับรวมรายจ่ายดอกเบี้ย) 22.97 ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นร้อยละ 36.83 ในปีงบประมาณ
คาดการณ์ว่า ดุลงบประมาณเบื้องต้นจะมีลักษณะขาดดุลทุกปี แต่มูลค่า พ.ศ. 2561 ในขณะที่หนี้สาธารณะคงค้างสุทธิที่นับรวมหนี้ FIDF กลับเพิ่มขึ้น
การขาดดุลไม่สูงนัก การขาดดุลงบประมาณเบื้องต้นจะอยู่ในช่วงระหว่าง ไม่มากนัก โดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 35.99 ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2550
242,645 ล้านบาท ถึง 260,410 ล้านบาท เมื่อพิจารณาสัดส่วนการขาดดุล เป็นร้อยละ 42.07 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า สาเหตุ
งบประมาณเบื้องต้นต่อ GDP จะอยู่ในช่วงร้อยละ 1.38 ถึงร้อยละ 1.08 หนึ่งที่ทำให้หนี้สาธารณะสุทธิทั้งหมดปรับเพิ่มไม่มากนักในช่วงที่ผ่านมา
จึงเป็นที่สังเกตว่า สาเหตุของการขาดดุลงบประมาณเป็นจำนวนมาก ทั้งที่หนี้สาธารณะคงค้างสุทธิที่ไม่นับรวมหนี้ FIDF ปรับเพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก
ในแต่ละปี เป็นผลมาจากรายจ่ายดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง เป็นผลจากหนี้ที่รัฐบาลกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการ
รวดเร็วในช่วงเวลาที่ประมาณการ ฟื้นฟูฯ มีสัดส่วนต่อ GDP ลดลง จากที่ร้อยละ 13.02 ในปีงบประมาณ
จากการขาดดุลงบประมาณอย่างต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจะส่งผลให้ระดับ พ.ศ. 2550 เป็นร้อยละ 5.24 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
หนี้สาธารณะปรับเพิ่มขึ้น เมื่อพิจารณาสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP แต่การคาดการณ์ในช่วงระยะเวลาหลังจากนี้เป็นต้นไปพบว่า
ในกรณีฐานพบว่า สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างสุทธิต่อ GDP จะปรับ ความแตกต่างระหว่างหนี้สาธารณะคงค้างสุทธิรวมทั้งหมดกับหนี้สาธารณะ
เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ร้อยละ 46.88 เป็นร้อยละ
สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า