Page 58 - kpi20852
P. 58

การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ   การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ
 ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563     ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563



 ตารางที่ 3.8 ประมาณการหนี้สาธารณะประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2570     3.4 ประมาณการทางการคลังในกรณีเศรษฐกิจชะลอตัวอย่างมาก

 (พันล้านบาท)
 ตารางที่ 3.8 ประมาณการหนี้สาธารณะประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2570 (พันล้านบาท)   ผลประมาณการทางการคลังในกรณีที่เศรษฐกิจชะลอตัวอย่างมาก

 หนี้สาธารณะคงค้างสุทธิ (ไม่รวมหนี้ FIDF)   หนี้สาธารณะคงค้างสุทธิ   โดยมีอัตราการขยายตัวต่ำกว่าที่คาดไว้ในกรณีฐาน แสดงให้เห็นว่า
 ปีงบประมาณ
 พันล้านบาท   ร้อยละ GDP   พันล้านบาท   ร้อยละ GDP   การชะลอตัวทางเศรษฐกิจในระยะปานกลางจะเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผล
 2550   3,183   22.97   2,032   35.99   รุนแรงต่อฐานะทางการคลังของประเทศ โดยอัตราการขยายตัวของ
 2551   3,408   23.09   2,252   34.95
 2552   4,002   30.33   2,865   42.36   การจัดเก็บรายได้จะต่ำกว่าอัตราการขยายตัวของงบประมาณรายจ่าย ซึ่งจะ
 2553   4,230   29.22   3,104   39.83   ทำให้ระดับการขาดดุลงบประมาณในแต่ละปีสูงกว่ากรณีฐาน (ภาพที่ 3.2)
 2554   4,448   29.07   3,306   39.12   และทำให้ประมาณการหนี้สาธารณะสูงกว่าในกรณีฐานค่อนข้างมาก

 2555   4,937   32.31   3,804   41.93
 2556   5,431   33.58   4,322   42.19   (ภาพที่ 3.3) โดยสามารถสรุปได้แบบพอสังเขป ดังนี้
 2557   5,691   35.16   4,617   43.33
 2558   5,783   35.21   4,785   42.56   เมื่อพิจารณาสัดส่วนการขาดดุลงบประมาณต่อ GDP การขาดดุล
 2559   5,988   35.16   5,039   41.79   งบประมาณประจำปีของรัฐบาลจะเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.90 ต่อ GDP ใน
 2560   6,369   36.01   5,478   41.87   ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นร้อยละ 3.22 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

 2561   6,781   36.83   5,936   42.07
 2562   7,409   39.36   6,613   44.10   ก่อนที่จะปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นเป็นร้อยละ 4.54 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570
 2563   8,232   42.65   7,490   46.88   การขาดดุลโดยเฉลี่ย (ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2563- 2570) อยู่ที่ร้อยละ
 2564   8,992   45.18   8,307   48.91   3.75 ต่อ GDP และเมื่อพิจารณาระดับหนี้สาธารณะพบว่า สัดส่วนหนี้
 2565   9,705   47.19   9,084   50.42
 2566   10,305   48.39   9,752   51.13   สาธารณะต่อ GDP จะปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก ณ สิ้นปีงบประมาณ
 2567   11,027   49.99   10,549   52.26   พ.ศ. 2562 ที่ร้อยละ 44.44 เป็น ร้อยละ 47.93 ในปีงบประมาณ
 2568   11,764   51.45   11,367   53.25   พ.ศ. 2563 และเพิ่มสูงขึ้นเป็น ร้อยละ 66.97 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570

 2569   12,524   52.80   12,213   54.14
 2570   13,304   54.04   13,087   54.93   (ตารางที่ 3.9) ซึ่งจะเป็นระดับที่สูงกว่าสัดส่วนที่คณะกรรมการฯ กำหนดไว้
 ที่มา: ข้อมูลปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ถึง 2561 จากสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ    ตาม พ.ร.บ วินัยการเงินการคลังฯ
 ที่มา:
 ข้อมูลปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ถึง 2561 จากสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
        ส่วนปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2570 ประมาณการโดยคณะผู้ศึกษา, สิงหาคม 2562
     ส่วนปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2570 ประมาณการโดยคณะผู้ศึกษา, สิงหาคม 2562

                        3.5 ประมาณการทางการคลังในกรณีเศรษฐกิจขยายตัว

                               มากกว่าที่คาดการณ์


                               ผลประมาณการทางการคลังในกรณีที่เศรษฐกิจขยายตัวมากกว่า
                        ที่คาดการณ์ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2570 แสดงให้เห็นว่า






 สถาบันพระปกเกล้า                                                                   สถาบันพระปกเกล้า
     32
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63