Page 112 - 22373_Fulltext
P. 112

ทั้งนี้งานประเพณีและกิจกรรมท่องเที่ยวที่ส าคัญของจังหวัด ได้แก่ งานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว ในวันขึ้น 15
              ค่ า เดือน 3 ของทุกปี เทศกาลสรงน้ าหลวงปู่ทวดวัดช้างให้ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี ประเพณีชักพระ

              อ าเภอโคกโพธิ์ ซึ่งจัดในช่วงวันออกพรรษาของทุกปี ประเพณีของชาวไทยมุสลิม ซึ่งประกอบด้วย พิธีการเกิด
              และการโกนผมไฟ การเข้าสุหนัต หรือ มาโซะยาวีซึ่งเป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งของอิสลาม (องค์การบริหารส่วน
              จังหวัดปัตตานี, 2563)


                        5) สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ การเดินทางภายในจังหวัดปัตตานี สามารถเดินทางด้วย
              ถนน โดยถนนสายหลักที่ส าคัญของปัตตานีคือ ทางหลวงหมายเลข 42 เชื่อมคลองแหงะ จังหวัดสงขลาและ

              สุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส โดยถนนเส้นนี้พาดผ่านอ าเภอโคกโพธิ์ อ าเภอหนองจิก อ าเภอเมืองปัตตานี
              อ าเภอยะหริ่ง อ าเภอปะนาเระ และอ าเภอสายบุรี เข้าสู่จังหวัดนราธิวาส ทางหลวงหมายเลข 43 เชื่อม

              หาดใหญ่กับมะพร้าวต้นเดียว อ าเภอยะหริ่ง ซึ่งใกล้กับอ าเภอเมืองปัตตานี  อีกทั้งมีทางหลวงหมายเลข 410
              และ 418 เชื่อมกับจังหวัดยะลา นอกจากนี้จังหวัดปัตตานีมีเส้นทางรถไฟวิ่งผ่านที่อ าเภอโคกโพธิ์ และอ าเภอ

              แม่ลาน โดยมีสถานีรถไฟส าหรับบริการจ านวน 6 สถานี คือ สถานีบ้านท ากริช สถานีปัตตานี (ตั้งอยู่ในอ าเภอ
              โคกโพธิ์) สถานีนาประดู่ สถานีวัดช้างไห้ สถานีป่าไร่ สถานีคลองทราย (องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี,

              2563)

                        ส าหรับไฟฟ้า จังหวัดปัตตานีมีจ านวนผู้ใช้ไฟฟ้าทั้งสิ้น 178,940 ราย มีจ านวนผู้ใช้ประปา ซึ่งแบ่ง
              ออกตามผู้ให้บริการน้ าประปาได้ 2 ลักษณะ คือ ส านักงานการประปาส่วนภูมิภาคมีจ านวน 18,690 ราย และ
                  การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
              ประปาหมู่บ้านซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีจ านวน 276 แห่ง อย่างไรก็ตาม
              จ านวนการให้บริการน้ าประปายังไม่ครอบคลุมทั้งจังหวัด โดยมีให้บริการคิดเป็นร้อยละ 38.6 (องค์การบริหาร

              ส่วนจังหวัดปัตตานี, 2563)

                     2.11.3 บริบทด้านการจัดการศึกษา

                        1) ด้านหน่วยงานและบุคลากร  องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี มีหน่วยงานที่ดูแลโดยตรง

              ด้านการศึกษาของเด็กและเยาวชน ซึ่งได้แก่ กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่งเป็นกองที่องค์การ
              บริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ก าหนดให้มีหน้าที่รับผิดชอบ คือ (1) จัดการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตาม

              อัธยาศัย ใหประชาชนในทองถิ่นได้เรียนรูทุกชวงวัยอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต (2) ขับเคลื่อนพลังประชารัฐให
              มีสวนร่วมในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (3) อนุรักษ สืบสาน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม

              และภูมิปัญญาทองถิ่น (4) ปลูกฝงเสริมสร้างค่านิยมไทย และจิตส านึกรักทองถิ่น (5) นอมน าหลักปรัชญาของ
              เศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (6) พัฒนากีฬาสู่ความเป็น

              เลิศ (องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี, 2563)

                        โดยกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีหน่วยงานย่อยที่ดูแลด้านการศึกษา ทั้งหมด 2 ฝ่าย
              คือ ฝ่ายบริหารการศึกษา และฝ่ายส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีบุคลากรในหน่วยงานที่ดูแลด้าน

              การศึกษาโดยตรงจ านวน 119 คน (39.0%) ประกอบไปด้วย พนักงานพนักเทศบาลประจ ากองการศึกษา
              จ านวน 11 คน และพนักงานครู พนักงานจ้าง และลูกจ้างประจ าโรงเรียน จ านวน 108 คน (องค์การบริหาร

              ส่วนจังหวัดปัตตานี, มปป)





      88      วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117