Page 66 - 22373_Fulltext
P. 66

ในส่วนของฐานะการเงิน จากข้อมูลเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562 เทศบาลฯ มีทรัพย์สินตามงบ
              ทรัพย์สิน 78.693 ล้านบาท มีสินทรัพย์ 43.262 ล้านบาท มีหนี้สิน 9.703 ล้านบาท มีเงินสะสม 33.559 ล้าน

              บาท (เทศบาลต าบลก่อด า, มปป.ค)

                        ดังนั้น เทศบาลป่าก่อด าจึงมีวิสัยทัศน์ที่เกี่ยวกับการศึกษาโดยตรง ได้แก่ “เสริมสร้างการศึกษาทุก
              ช่วงวัย”


                      2.3.2 บริบทเชิงพื นที่

                        1) ลักษณะทางกายภาพ เทศบาลป่าก่อด ามีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 24.3 ตารางกิโลเมตร หรือ

              ประมาณ 15,187.5 ไร่ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ในเขตเทศบาลต าบลป่าก่อด าเป็นที่ราบลุ่ม ดินมีลักษณะ
              เป็นดินร่วนปนทราย เป็นดินเหนียวที่เหมาะส าหรับปลูกข้าว ประกอบไปด้วยพื้นที่อยู่อาศัย และพื้นที่เกษตร-

              กรรม มีแม่น้ าสายหลักไหลผ่านคือ ล าน้ าห้วยส้าน และแม่น้ าลาว (เทศบาลต าบลป่าก่อด า, มปป.ก)

                        2) ประชากร ในด้านประชากร ในปี 2562 เทศบาลต าบลป่าก่อด ามีจ านวนประชากรทั้งหมด
              4,278 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ านวน 2,226 คน (52.0%) และ เพศชาย 2,052 คน (48.0%) ส่วนใหญ่อยู่

              ในช่วงอายุ 21-60 ปี 2,627 คน (61.4%) รองลงมาอายุ 61 ปีขึ้นไป 918 คน (21.5%) ส่วนช่วงอายุ 0 – 20 ปี
              มีเพียง 733 คน (17.1%) ดังนั้นประชากรส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลต าบลป่าก่อด าจึงอยู่ในวัยแรงงาน และกลุ่ม

              ประชากรที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ (เทศบาลต าบลป่าก่อด า, มปป.ก)
                  การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
                        3) สังคม และเศรษฐกิจ  ส่วนสภาพสังคมและเศรษฐกิจ ภายในเขตเทศบาลต าบลป่าก่อด า แม้จะ
              อยู่ในเขตเทศบาล แต่สภาพสังคมยังเป็นสังคมชนบทเป็นส่วนใหญ่ แม้จะมีความเป็นเมืองอยู่บ้างในบริเวณพื้นที่

              ที่ติดกับถนนพหลโยธิน

                        ในด้านสาธารณสุขมีสิ่งอ านวยความสะดวก ได้แก่ โรงพยาบาลแม่ลาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

              ต าบลป่าก่อด า สาธารณสุขอ าเภอแม่ลาว สถานพยาบาล 2 แห่ง และร้านขายยาแผนปัจจุบัน 2 แห่ง

                        ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พื้นที่ส่วนใหญ่จึงเป็นนาข้าว รองลงมา ได้แก่ พืชไร่
              และสวนผลไม้ นอกจากนี้ยังมีการท าการปศุสัตว์อยู่บ้าง อาทิ เลี้ยงสุกร โค เป็ด และไก่ นอกจากนี้ยังมีกิจการ

              อุตสาหกรรมขนาดเล็กอย่าง โรงสีข้าวขนาดเล็ก จ านวน 6 แห่ง โรงสีข้าวขนาดกลาง จ านวน 2 แห่ง อู่ซ่อมรถ
              ร้านสะดวกซื้อ ร้านขายอาหาร และมีตลาดสดภายในเขตเทศบาลต าบลป่าก่อด า ประชากรมีรายได้เฉลี่ยที่

              23,000 บาทต่อคนต่อปี (เทศบาลต าบลป่าก่อด า, มปป.ก)

                        4) วัฒนธรรม  ส าหรับศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลต าบลป่าก่อ

              ด านับถือศาสนาพุทธ โดยมีศาสนสถานทั้งหมด 3 แห่ง ได้แก่ วัดศรีบุญเรือง  วัดห้วยส้านดอนจั่น และวัดศรี
              ดอนมูล ดังนั้นประเพณีประจ าปีของเทศบาลต าบลป่าก่อด าส่วนใหญ่จึงเป็นประเพณีในเชิงศาสนาของทาง

              ภาคเหนือ เช่น ประเพณีวันสงกรานต์รดน้ าด าหัวผู้สูงอายุ ประเพณีหล่อเทียนแห่เทียนเข้าพรรษา เป็นต้น
              (เทศบาลต าบลป่าก่อด า, มปป.ก)

                        5) สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ในส่วนของการคมนาคม ไฟฟ้า และประปา เทศบาลต าบล

              ป่าก่อด า ใช้เส้นทางถนนพหลโยธิน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ในการคมนาคมขนส่งระหว่างอ าเภอ และ




      42      วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71