Page 132 - b29259_Fulltext
P. 132
3. ความสัมพันธ์ระหว่างฝายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร
ในส่วนนี้จะกล่าวถึงความสัมพันธ์ กลไกการทำางานระหว่างสถาบัน
ฝ่ายต่าง ๆ ในทางการเมือง ซึ่งจะได้ชี้ให้เห็นถึงบทบาทที่สำาคัญของกลไก
ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร
3.1 การท�างานของฝ่ายนิติบัญญัติ
ฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาทำาหน้าที่ในการตรากฎหมาย ตั้งแต่
การเสนอกฎหมาย พิจารณากฎหมาย ผ่านร่างกฎหมาย โดยใช้กลไกหลัก
คือการประชุม ซึ่งระบบที่ทำาให้งานรัฐสภาเดินหน้าได้คือการตั้งกรรมาธิการ
สามัญซึ่งทำาหน้าที่ติดตามการทำางานของรัฐบาล และการตั้งคณะกรรมาธิการ
วิสามัญที่ตั้งขึ้นเฉพาะกิจหรือเพื่อดำาเนินการเฉพาะกรณี ซึ่งจะลงพื้นที่รับฟัง
ปัญหา รับฟังความเห็น การรับเรื่องร้องเรียน การเสนอญัตติ และนำาเข้าสู่
การพิจารณาในที่ประชุมกรรมาธิการ และนำาสู่การพิจารณาของสภาฯ ต่อไป
การทำางานของฝ่ายนิติบัญญัติสามารถจำาแนกได้ ดังนี้
3.1.1 อ�านาจหน้าที่ในการตรากฎหมาย
การตรากฎหมายเพื่อมาบังคับใช้เป็นการทั่วไปนั้น รัฐธรรมนูญได้
กำาหนดให้เป็นอำานาจหน้าที่ของรัฐสภาที่จะริเริ่มกฎหมาย และในการให้
ความยินยอมให้นำากฎหมายนั้นออกบังคับใช้
อำานาจหน้าที่ในการตรากฎหมาย หมายถึง อำานาจหน้าที่ใน
การออกกฎหมาย แก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกกฎหมาย
132