Page 4 - kpiebook62010
P. 4
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 บทนำและสภาพปัญหา 2
1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา 3
1.3 ขอบเขตการศึกษา 3
1.4 คำถามการวิจัย 4
1.5 วิธีการดำเนินการศึกษา 4
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4
บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสัตว์และการคุ้มครองสัตว์ 5
2.1 วิวัฒนาการเกี่ยวกับสถานะของสัตว์ตามความคิดของมนุษย์ 6
2.2 สถานะทางกฎหมายของสัตว์ 12
2.2.1 สัตว์ในฐานะเป็นทรัพย์สินของมนุษย์ 12
2.2.2 สัตว์ในฐานะเป็นสิ่งที่ได้รับความคุ้มครองตามหลักจริยธรรม 13
2.2.3 สัตว์ในฐานะของสิ่งมีชีวิตที่พึงได้รับความคุ้มครอง 14
ก. แนวคิดแบบ “สิทธิของสัตว์” (Animal Right) 15
ข. แนวคิดแบบ“สวัสดิภาพสัตว์” (Animal Welfare) 17
2.3 สิทธิหรือสวัสดิภาพของสัตว์เมื่อเปรียบเทียบกับสิทธิและเสรีภาพของมนุษย์ 19
2.3.1 หลักการเรื่องสิทธิและเสรีภาพของมนุษย์ 19
2.3.2 ข้อวิพากษ์ว่าด้วยสิทธิหรือเสรีภาพของสัตว์เมื่อพิจารณาในแง่มุมของสิทธิและเสรีภาพ 22
ของมนุษย์
บทที่ 3 มาตรการและกฎหมายคุ้มครองสัตว์เปรียบเทียบ 25
3.1 การคุ้มครองสัตว์ตามข้อตกลงระหว่างประเทศ 26
3.1.1 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิของสัตว์ (Universal Declaration of Animal Rights) 26
3.1.2 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ (Universal Declaration on Animal Welfare 27
หรือ UDAW)
3.2 อนุสัญญาระดับสหภาพยุโรปว่าด้วยการคุ้มครองสัตว์ 28
3.2.1 อนุสัญญาแห่งสหภาพยุโรปเพื่อคุ้มครองสัตว์ระหว่างการขนส่งระหว่างประเทศ 28
(European Convention for the Protection of Animals during International
Transport)
3.2.2 อนุสัญญาแห่งสหภาพยุโรปว่าด้วยการคุ้มครองปศุสัตว์ (European Convention for 29
the Protection of Animals kept for Farming Purposes)
3.2.3 อนุสัญญาแห่งสหภาพยุโรปว่าด้วยการคุ้มครองสัตว์ที่จะถูกฆ่าเพื่อการบริโภค 29
(European Convention for the Protection of Animals for Slaughter)
ปัญหาเกี่ยวกับการใช้บังคับของพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรม และการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557