Page 321 - kpiebook65010
P. 321
แนวทางและวิธีการวิเคราะห์
ผลกระทบทางสังคมในการตรากฎหมาย
บรรณานุกรม
การวิเคราะห์ผลกระทบในกฎหมายไทย (บทที่ 2)
คณพล จันทน์หอม และโชติกา วิทยาวรากุล, “การนำเครื่องมือการวิเคราะห์ผลกระทบในการออก
กฎหมายมาใช้ในประเทศไทย” (2561) 11(1) วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99
คณพล จันทน์หอม และโชติกา วิทยาวรากุล, โครงการการนำเครื่องมือการวิเคราะห์ผลกระทบใน
การออกกฎหมายมาใช้ในประเทศไทย (รายงานวิจัย) (กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการ
ยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม, 2559)
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2563 เรื่อง การดำเนินการเพื่อรองรับและขับเคลื่อน
การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, “โครงการวิจัย เรื่อง การวิเคราะห์ผลกระทบในการออก
กฎหมาย (Regulatory Impact Analysis)” รายงานฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อ สำนักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา (2557)
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, “รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
(Final Report) โครงการวิจัย เรื่อง องค์ความรู้และเครื่องมือสำหรับการตรวจสอบ
ความจำเป็นในการตรากฎหมาย ( Building Knowledge and Tools for Regulatory
Impact Analysis )” รายงานฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อ สำนักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย
สถาบันพระปกเกล้า” (2563)
สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “การวิเคราะห์ผลกระทบในการออก
กฎหมาย (RIA) กับการปฏิรูปกฎหมาย” เอกสารวิชาการ (Academic Focus)
กรกฎาคม 2559
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “ความมุ่งหมายและคำอธิบายประกอบรายมาตรา
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐” (สำนักงานเลขาธิการ
สภาผู้แทนราษฎร 2562)
สถาบันพระปกเกล้า
309