Page 385 - kpiebook65064
P. 385
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
ชะอรสิน สุขศรีวงศ์. (27 กุมภาพันธ์ 2555). กลยุทธ์การกำหนดและควบคุมราคาก่อนขาย (หลังขึ้น
ทะเบียนยา) เมื่อคัดเลือกเข้าบัญชียาหลักแห่งชาติและโดยผู้จ่ายค่ายารายใหญ่.
นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี. (กรกฎาคม 2554). “ความปลอดภัยของยาใหม่: สิ่งที่คนไทยควรใส่ใจ สมดุล
ระหว่างประโยชน์ที่ได้ กับความเสี่ยงด้านความปลอดภัย.” ยาวิพากษ์, 3(11), p. 6.
บุษกร ชัยเจริญวัฒนะและบุญมี ลี้. (2550). ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
แผนงานสร้างกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา. (2552). รายงานสถานการณ์ระบบยาประจำปี 2552.
ธันวาคม 2552.
ยา, สำนัก, สำนักคณะกรรมการอาหารและยา, กระทรวงสาธารณสุข. (2554). นโยบายแห่งชาติด้านยา
พ.ศ.2554 และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2554 - 2559. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
ยา, สำนัก, สำนักคณะกรรมการอาหารและยา, กระทรวงสาธารณสุข. (2556). บัญชียาหลักแห่งชาติ
พ.ศ.2556. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
วรรณพร เทพหัสดิน ณ อยุธยา สุทธปรีดา และคณะ. (2552). คู่มือการจัดระดับการกำกับดูแลองค์การ
ภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance Rating).
กรุงเทพฯ: พรีเมียม โปร.
วิจัยระบบสาธารณสุขและมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, สถาบัน. (2537). ระบบยาของประเทศไทย.
กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
สมชาติ โตรักษา. “หลักการและกระบวนการบริหารโรงพยาบาล,” ใน ประมวลชุดสาระวิชา 58703 การ
บริหารจัดการเพื่อการพัฒนาโรงพยาบาล เล่ม 1 (หน่วยที่ 1-5),(นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช, 2550)
สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิโชค. (มิถุนายน 2552). “ผลประโยชน์ทับซ้อน” ประชาคมโลกเดินหน้าเร่งยุติ
ขบวนการ ส่งเสริมการขายที่ขาดจริยธรรม. ยาวิพากษ์, 1, 3-10, p. 4.