Page 169 - kpi12626
P. 169
ภาคผนวก 1
ระเบียบวิธีวิจัยและการเก็บข้อมูล
การศึกษาในครั้งนี้มีการด าเนินการหลายขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การพัฒนากรอบคิดในการวิจัย การพัฒนา
แบบส ารวจข้อมูลการเงินการบัญชีเทศบาล การทดสอบและประเมินคุณภาพแบบส ารวจโดยผู้ทรงคุณวุฒิจาก
นักวิชาการ ผู้บริหารด้านการเงินการคลังของเทศบาล และผู้ปฏิบัติงานของเทศบาลในสายงานที่เกี่ยวข้อง และ
32
โดยการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างเป้ าหมายจ านวน 24 แห่ง (pilot test) จากนั้นจึงเป็นขั้นตอนการส ารวจข้อมูลทาง
ไปรษณีย์ (mail survey) ซึ่งด าเนินการระหว่างเดือนสิงหาคมถึงพฤศจิกายน 2553 โดยผู้เขียนได้ส่งแบบส ารวจ
ให้แก่เทศบาลทุกแห่ง (2,008 แห่ง) และได้รับแบบส ารวจส่งกลับคืนจ านวน 972 ชุด หรือคิดเป็นอัตราตอบกลับ
33
(response rate) ร้อยละ 48.4 ของเทศบาลทั้งหมด ต่อจากนั้น จึงน าข้อมูลมาลงรหัส (coding) และตรวจสอบ
ความสมบูรณ์ถูกต้องของข้อมูล (cleansing and data entry) ก่อนการลงมือวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่าง
1 การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น:
เทศบาลที่ตอบแบบส ารวจแสดงดังตารางที่ ผ1 ต่อไปนี้
คู่มือสำหรับนักบริหารงานท้องถิ่นในยุคใหม่
ตารางที่ ผ1 จำแนกประเภทของเทศบาลกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสำรวจ
ตารางที่ ผ1 จ าแนกประเภทของเทศบาลกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบส ารวจ
ประเภทของ จ านวนเทศบาล ร้อยละ จ านวนเทศบาล ร้อยละ ร้อยละของเทศบาล
เทศบาล ทั้งหมด (แห่ง) สะสม กลุ่มตัวอย่าง (แห่ง) สะสม ในแต่ละประเภท
เทศบาลนคร 25 1.2 12 1.2 48.0
เทศบาลเมือง 142 7.1 88 9.1 62.0
เทศบาลต าบล 1,841 91.7 872 89.7 47.4
รวมทั้งหมด 2,008 100.0 972 100.0 48.4
หมายเหตุ ข้อมูลจ านวนเทศบาลได้มาจากกรมส่งเสริมการปกครองท ้องถิ่น วันที่ 30 กันยายน 2553 (ข้อมูลล่าสุดในปีที่มีการวิจัย)
หมายเหตุ ข้อมูลจำนวนเทศบาลได้มาจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น วันที่ 30 กันยายน 2553 (ข้อมูลล่าสุด
ในปีที่มีการวิจัย)
ในภาพรวมนั้น เทศบาลกลุ่มตัวอย่างมิได้มีความแตกต่างจากเทศบาลโดยทั่วไปเมื่อวิเคราะห์ด้วยค่า
ความแตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (วิเคราะห์ ANOVA Test) ทั้งในด้านจ านวนประชากรและ
ในภาพรวมนั้น เทศบาลกลุ่มตัวอย่างมิได้มีความแตกต่างจาก
พื้นที่การปกครอง ข้อมูลในตารางที่ ผ2 ด้านล่างแสดงให้เห็นว่าเทศบาลนครกลุ่มตัวอย่างมีประชากรเฉลี่ย
34
เทศบาลโดยทั่วไปเมื่อวิเคราะห์ด้วยค่าความแตกต่างทางสถิติที่ระดับความ
เชื่อมั่นร้อยละ 95 (วิเคราะห์ ANOVA Test) ทั้งในด้านจำนวนประชากรและ
พื้นที่การปกครอง ข้อมูลในตารางที่ ผ2 ด้านล่างแสดงให้เห็นว่าเทศบาล
34
นครกลุ่มตัวอย่างมีประชากรเฉลี่ย 99,181 คน มีพื้นที่เฉลี่ย 30.4 ตร.กม.
32 ได้แก่ ศ.ดร.จรัส สุวรรณมาลา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์วันพุธที่ 28 กรกฎาคม 2553 เวลา 12.00-13.00 น.
คุณสุวรรณี กลิ่นหอม หัวหน้าฝ่ายบัญชีและการเงิน เทศบาลนครนนทบุรี สัมภาษณ์วันศุกร์ที่ 30 กรกฎาคม 2553 เวลา 10.00-10.45 น.
เทศบาลเมืองกลุ่มตัวอย่างมีประชากรเฉลี่ย 28,027 คน มีพื้นที่เฉลี่ย 22.4
คุณรัตน์จิกรณ์ มงคลวัจน์ อดีตผู้อ านวยการกองคลัง เทศบาลเมืองปทุมธานี สัมภาษณ์วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม 2553 เวลา 9.00-11.00 น. และ
ตร.กม. และเทศบาลตำบลกลุ่มตัวอย่างมีจำนวนประชากรเฉลี่ย 7,304 คน
คุณเจษฎา จิราสุคนธ์ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์รายได้ 6 เทศบาลเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ข้อมูล ณ วันอังคารที่ 27 กรกฎาคม 2553
และมีพื้นที่เฉลี่ย 34.1 ตร.กม.
33 ในการส ารวจ City Fiscal Condition ของ NCL นั้น (Pagano and Hoene, 2009) ใช้วิธีการส ารวจทางไปรษณีย์เช่นกัน โดยส่งให้กับเมือง
กลุ่มตัวอย่างจ านวน 1,055 ชุด และได้รับกลับคืนจ านวน 379 ชุด หรือคิดเป็นราวร้อยละ 36.0 ของแบบสอบถามที่ส่งไปทั้งหมด ดังนั้น อัตรา
จากข้อมูลดังกล่าวสามารถกล่าวได้ว่าเทศบาลนครและเทศบาลเมือง
ตอบกลับ (response rate) ของเทศบาลไทยที่ประมาณร้อยละ 48.4 จึงนับว่าสูงพอสมควร
34 อนึ่ง การพิจารณาความแตกต่างของเทศบาลกลุ่มตัวอย่างกับเทศบาลทั้งหมด (t-test) อาจพิจารณาได้จากขนาดงบประมาณรายรับและ
ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างไม่มีความแตกต่างกันกับเทศบาลนครและเทศบาลเมือง
รายจ่าย อย่างไรก็ดี เนื่องจากข้อมูลรายรับและรายจ่ายของเทศบาลทุกแห่งมิได้รับการรวบรวมไว้โดยส่วนงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมส่งเสริมการ
แห่งอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ ส่วนเทศบาลตำบลที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีแนวโน้ม
ที่จะมีจำนวนประชากรมากกว่าเทศบาลตำบลทั่วไปเล็กน้อย กล่าวคือ
วีระศักดิ์ เครือเทพ หน้า 89
34 อนึ่ง การพิจารณาความแตกต่างของเทศบาลกลุ่มตัวอย่างกับเทศบาลทั้งหมด (t-test)
อาจพิจารณาได้จากขนาดงบประมาณรายรับและรายจ่าย อย่างไรก็ดี เนื่องจากข้อมูลรายรับ
และรายจ่ายของเทศบาลทุกแห่งมิได้รับการรวบรวมไว้โดยส่วนงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรม
ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น หรือสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น (สกถ.) เป็นต้น ผู้เขียนจึงไม่มีข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ค่าความ
แตกต่างดังกล่าว และจึงเป็นเหตุผลเริ่มต้นที่ทำให้ต้องเก็บข้อมูลโดยวิธีการสำรวจในครั้งนี้
นั่นเอง