Page 142 - kpi17733
P. 142

1 0                                                                        1 1


 องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสตูลใน  ภาคประชาสังคม และองค์กรเอกชนอื่นๆ เพื่อทำให้การขับเคลื่อนโครงการพัฒนา
 ปี พ.ศ. 2557-2561 ที่เกี่ยวกับการสร้างเครือข่ายในการทำงานร่วมกับหน่วยงานภาคี  ตามแผนยุทธศาสตร์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลเป็นรูปธรรมขึ้นมา

 ต่างๆ ไว้จำนวน 7 ด้าน อันประกอบไปด้วย
          สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ
 ด้านที่ 1 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการท่องเที่ยวที่ประทับใจ โดยเน้นที่การ  เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ องค์การบริหารส่วนจังหวัด
 จัดการด้านการท่องเที่ยวแก่ชุมชน เอกชน และปลูกจิตสำนึกให้ชุมชนพัฒนา 
  สตูล ได้แก่
 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน


 ด้านที่ 2 การเกษตรยั่งยืน โดยเป็นการส่งเสริมอาชีพ สนับสนุนการผลิต   เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดสตูล
 การลดต้นทุนการผลิต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และการสร้างองค์ความรู้  (CBT-SATUN: Sutun Community-Based Tourism)
 การเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
                กระแสการท่องเที่ยวที่เข้ามาในจังหวัดสตูลซึ่งมีทรัพยากรที่อันอุดมสมบูรณ์อยู่
 ด้านที่ 3 การส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม     มากนั้น ทำให้หลายชุมชนที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวได้รับผลกระทบ อย่างน้อยก็ในแง่
 ให้ยั่งยืน โดยเป็นการสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนเพื่อการเฝ้าระวังปัญหา  ของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกรุกล้ำมากขึ้น โดยกระแสดังกล่าวยังทำให้เกิดจุดเปลี่ยน

 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม    สำคัญที่ชาวบ้านในชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูกรวมตัวกันตั้งกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
          เพื่อจัดการท่องเที่ยวด้วยตนเองจนประสบความสำเร็จ ประกอบกับตั้งแต่ ปี พ.ศ.2550
 ด้านที่ 4 การอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และพัฒนา 
  เป็นต้นมา กระแสการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้แพร่ขยายไปในหลายชุมชน
 ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยส่งเสริมให้ผู้นำศาสนาและสถาบันศาสนามีบทบาทในการ  ท่องเที่ยวของจังหวัดสตูล ไม่ว่าจะเป็นชุมชนบากันเคย เกาะหลีเป๊ะ บ้านหัวทาง
 พัฒนาประชาชนให้มีคุณธรรมประจำใจ
          บ้านเกตรี พญาบังสา (บ้านควนโพธิ์) โตนปาหนัน ภูผาเพชร บุโบย นาทอน และ
 ด้านที่ 5 การพัฒาทรัพยากรมนุษย์และสังคม เป็นการมุ่งเน้นพัฒนาทักษะ  ทุ่งสะโบ๊ะ
 ทางวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และ 
  จนทำให้ในปี พ.ศ.2552 ชุมชนท่องเที่ยวที่มีการรวมตัวกันได้เหนียวแน่น

 ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมให้มีชีวิตที่ดีขึ้น
          จนพัฒนากันเป็นเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดสตูล (Satun-Community-
 ด้านที่ 6 เมืองสงบสุข โดยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและสร้าง  Based Tourism: CBT-SATUN) ขึ้นมา และแบ่งพื้นที่ของเครือข่ายออกเป็น
 ความสมานฉันท์และความเข้มแข็งให้กับชุมชน    4 ประเภท คือ เขา ป่า นา เล แต่ก็พบว่าในช่วงนั้น เครือข่ายนี้ยังมีปัญหาในด้าน
          งบประมาณเพื่อการบริหารจัดการ ทั้งในส่วนที่เป็นการประชาสัมพันธ์ และกลยุทธ์
 ด้านที่ 7 การบริหารจัดการที่ดี โดยเป็นการส่งเสริมประชาธิปไตย  
  ทางการตลาด โดยเป็นผลให้ไม่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เท่าที่ควร

 ความเสมอภาค ความโปร่งใสในการทำงานมาเป็นหลักในการพัฒนาท้องถิ่น
          จนกระทั่งปี พ.ศ. 2555 ที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลเข้ามามีส่วนร่วม
 นอกจากนี้แล้ว องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลยังมีความร่วมมือทั้งที่เป็น  ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจนถึงปัจจุบัน
 ทางการและไม่เป็นทางการ (MOU) กับส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น



 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147