Page 147 - kpi17733
P. 147

1 6                                                                                                                                                       1


        
     ๏ เครือข่ายกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้นำท้องที่ ทำหน้าที่ในการอำนวย 
                    โครงการอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทสม.)
                 ความสะดวกและสนับสนุนการทำกิจกรรมในพื้นที่                                    แม้ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งของภาคประชาชนที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการรักษาทรัพยากร

                                                                                              ธรรมชาติของชุมชน ซึ่งเป็นผลมาจากการนำของหน่วยงานของรัฐ แต่ในแง่ของการมี
              โครงการที่โดดเด่นของเครือข่ายอาสาสมัครอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
        สิ่งแวดล้อม (ทสม.) อันมาจากการทำงานเป็นภาคีร่วมของกลุ่มต่างๆ ที่ดำเนิน                ส่วนร่วมของประชาชนสามารถทำได้อย่างกว้างขวาง ทั้งการใช้กลไกที่เกี่ยวข้อง
                                                                                              มาบูรณาการการทำงานให้สำเร็จ และการขยายเครือข่ายของโครงการเพื่อมาทำงาน
        กิจกรรมร่วมกัน ดังนี้
                                                                                              ร่วมกันได้มากขึ้น จนได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียวระดับประเทศ รางวัลผลงานเครือข่าย
        1. โครงการปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม                          ดีเด่นจังหวัดสตูล ในปี พ.ศ. 2554 ได้รับการคัดเลือกให้เป็นศูนย์เครือข่ายอาสา

                                                                                              สมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคใต้ และประธานเครือข่าย
              โครงการนี้มีเป้าหมายเพื่อการสร้างทัศนคติ และการปลูกจิตสำนึกที่ดีต่อการ          ทสม.ได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการที่มีบทบาทในการอนุรักษ์ทรัพยากร
        ดำเนินชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมผ่านการจัดกิจกรรมทั้งที่เป็นการประชุมเพื่อ        ธรรมชาติต่างๆ เช่น คณะกรรมการการป้องการตัดไม้ทำลายป่าจังหวัดสตูล และ
        ระดมความเห็นเพื่อให้เป็นพื้นที่ที่สมาชิกของเครือข่ายร่วมสะท้อนปัญหา และ 
             คณะกรรมการอาสาสมัครอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับประเทศ
        แลกเปลี่ยนแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยโครงการดังกล่าวเป็นโครงการที่เป็นการ            เป็นต้น
        ระดมคลังสมอง และสร้างองค์ความรู้ซึ่งอยู่บนฐานของภูมิปัญญาเพื่อการอนุรักษ์

        เครือข่ายให้สามารถเป็นหลักในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ
        จังหวัดสตูลต่อไป ส่วนกิจกรรมที่เป็นส่วนเกื้อหนุนให้โครงการนี้คือ การปลูกต้นไม้ใน      เครือข่าย LA 21 จังหวัดสตูล สู่ท้องถิ่นน่าอยู่อย่างยั่งยืน
        พื้นที่สาธารณะ การรณรงค์เก็บขยะในพื้นที่ และการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ กิจกรรมการ  
            เครือข่าย Local Agenda 21 หรือ LA 21 เป็นเครือข่ายที่มีความร่วมมือ
        ปักแนวเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ทะเล กิจกรรมฟื้นฟูธนาคารปู เป็นต้น                        ระหว่างรัฐและภาคประชาสังคมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

        2. โครงการติดตั้งทุ่นจอดเรือจุดชมปะการัง                                              เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับการสภาพปัญหาและ
                                                                                              ความต้องการแต่ละพื้นที่
              โครงการนี้มาจากการเสนอความเห็นของผู้ประกอบการนำเที่ยวทางทะเล
        อำเภอเมืองสตูล อำเภอทุ่งหว้า และอำเภอละงูที่เห็นว่าแนวปะการังน้ำตื้นเขินถูก                 อย่างไรก็ตาม แนวคิดของเครือข่ายดังกล่าวมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 ที่มี
        ทำลายและเสียหายในช่วงที่มีนักท่องเที่ยว องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลจึงทำ             ผู้แทนจาก 180 ประเทศทั่วโลกร่วมลงนามรับรองแผนปฏิบัติการ 21 ให้เป็นแผน
        หน้าที่ในการประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งยังให้การสนับสนุนโครงการ        แม่บทของโลกที่ว่าด้วยเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อมอันสอดคล้องกับหลักกลยุทธ์ในการ

        เพื่อการป้องกันแนวปะการังน้ำตื้นจากเรือนำเที่ยวที่ทิ้งสมอแล้วทำให้ปะการังเสียหาย      พัฒนาอย่างยั่งยืน โดยกรณีของประเทศไทยมีการดำเนินงานภายใต้กรอบดุลยภาพ
        โดยตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 ที่มีการดำเนินโครงการนี้เป็นต้นมา ได้รับความร่วมมือมา           3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน
        จากอุทยานแห่งชาติตะรุเตา อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา ศูนย์นวัตกรรมอุทยาน              ในการบริหารจัดการท้องถิ่นตนเอง
        แห่งชาติ จังหวัดตรัง กลุ่มอาสาสมัครรีฟกาเดียนสตูล และเครือข่ายผู้ประกอบการ                  กรอบความคิดดังกล่าวเป็นแนวคิดในการบริหารจัดการที่ต้องการรักษา
        ท่องเที่ยวเกาะหลีเป๊ะ จนประสบความสำเร็จในการปกป้องแนวปะการังน้ำตื้นให้มี              ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลเข้ามา
        ความสวยงามต่อไป


        รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152