Page 146 - kpi17733
P. 146

1                                                                          1 5


 เชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่างพื้นที่ เช่น โปรแกรมการท่องเที่ยวชุมชนบากันใหญ่กับ  ในส่วนของอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล
 เกาะหลีเป๊ะ ทำให้ยอดรวมของนักท่องเที่ยวจาก 200 คนในปีพ.ศ.2556 เพิ่มสูงขึ้น  นั้น องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลเข้ามาส่งเสริมให้เกิดการทำงานแบบเครือข่าย

 มาเป็น 3,600 คน ในปี พ.ศ. 2558   โดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลเองก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายที่เข้าไป
          ร่วมพัฒนาศักยภาพให้ ทสม.จังหวัดสตูลพัฒนาการทำงานให้ขยายไปครอบคลุมทุก
 เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดสตูลมีเป้าหมายในการพัฒนาตัวชี้วัด
 มาตรฐานของเครือข่ายท่องเที่ยวเพื่อสร้างปรับปรุงและสร้างความยั่งยืนให้กับ  
  หมู่บ้าน จนสามารถผลิตโครงการมาส่งเสริมการทำงานหลายกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็น
 เครือข่าย รวมถึงการจัดทำประเมินความเป็นไปได้ในการหาพื้นที่ท่องเที่ยวจากชุมชน  โครงการปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล
 อื่นๆ นอกเครือข่ายเพื่อนำข้อมูลของเครือข่ายมาทำเป็นเส้นทางท่องเที่ยวและบรรจุ  
  โครงการคลองสวยน้ำใส โครงการกำจัดขยะ โครงการติดตั้งทุ่นจุดชมปะการัง
          ธรรมชาติ เป็นต้น
 ลงใน Satun Wonderland 7 วัน มหัศจรรย์สตูล
                ตั้งแต่องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย
 
        อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เมื่อปี พ.ศ.2554 มีความ
 เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน   พยายามที่จะยกระดับของเครือข่ายให้เป็นส่วนหนึ่งของการอนุรักษ์ทรัพยากร

 เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน  
  ธรรมชาติระดับประเทศ โดยมีกระบวนการสร้างเครือข่ายและเกิดการเรียนรู้ภายใน
 (ทสม.) มาจากการรวมตัวของคนในชุมชนต่างๆ ที่เห็นว่าทรัพยากรอันอุดมสมบูรณ์ 
  เครือข่ายด้วยกันเองจากการที่มีการหมุนเวียนให้เครือข่ายระดับอำเภอเป็นเจ้าภาพ
 ในท้องถิ่นของตนถูกรุกล้ำและทำลายอันเนื่องมาจากการพัฒนา ผลที่ตามมา คือ  ในการจัดกิจกรรมประจำปี โดยภาคีที่ร่วมเป็นเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์

 ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน เครือข่ายอาสา  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย
 สมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงถือเป็นกลไกสำคัญที่เข้ามาบริหาร  
  ๏ เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับ
 จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของจังหวัดสตูลให้มีความสมดุลและยั่งยืน   อำเภอ มีบทบาทในการให้ความเห็น ร่วมทำ ติดตามประเมินผลกิจกรรม
 ทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติบนฐานของการมีส่วนร่วม  ที่เกิดขึ้นของเครือข่ายระดับอำเภอ
 มาจากประชาชนเองด้วย
          
     ๏ เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับ
 เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทสม.)   
  จังหวัด มีบทบาทเช่นเดียวกับระดับเครือข่าย ทสม.อำเภอ
 ถูกรับรองการทำงานด้วยกฎหมายภายใต้ “ระเบียบกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ  
  ๏ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล มีบทบาทในการประสานงาน
 สิ่งแวดล้อม ว่าด้วยอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน  
  ร่วมสนับสนุนงบประมาณและอุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม
 (ทสม.) พ.ศ.2550” โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม
 2550) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการสงวนรักษา  
  ๏ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล ทำหน้าที่
 และใช้ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล สอดคล้อง  ประสานงาน กำกับดูแล ทสม. และร่วมสนับสนุนงบประมาณ
 กับหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนการควบคุมและกำจัดมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพ   
  
  ๏ เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดสตูล ให้การสนับสนุน

 สวัสดิภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน    การดำเนินกิจกรรมในพื้นที่



 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151