Page 143 - kpi17733
P. 143

1 2                                                                                                                                                       1


              ในด้านที่เป็นองค์ประกอบของเครือข่ายการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดสตูล                      1. มหกรรมเปิดโลกทัศน์การท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตชุมชนสตูล โดยเริ่มมา
        ประกอบไปด้วยหลายภาคส่วน ดังนี้                                                        ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ถึงปัจจุบัน และเน้นการประชาสัมพันธ์เพื่อวางแผนกลยุทธ์

                                                                                              ทางการตลาดต่างๆ ดังนี้ การจัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายการท่องเที่ยวของแต่ละชุมชน
        
     ๏ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นอกจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลจะทำ
                 หน้าที่ในการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมกิจกรรมด้านการตลาดของ 
                  การเผยแพร่จุดเด่นของแต่ละชุมชนเพื่อนำมาเป็นกลยุทธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยว เช่น
                                                                                              เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนพญาบังสาที่โดดเด่นเรื่องการทำนาด้วยเกษตร
                 เครือข่ายแล้ว ยังมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่อยู่ในความรับผิดชอบ
                 ของเครือข่ายอีก เช่น อบต.เกตรี อบต.ควนโพธิ์ อบต.เกาะสาหร่าย                  อินทรีย์ เครือข่ายการท่องเที่ยวชุมชนบ้านโคกพะยอมมีจุดเด่นเรื่องการอนุรักษ์
                 อบต.ละงู อบต.ปากน้ำ อบต.นาทอน อบต.ตันหยงโป อบต.นิคมพัฒนา                     ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยว

                 อบต.ตำมะลัง อบต.สาคร และเทศบาลเมืองสตูล ซึ่งองค์กรปกครอง  
                        นอกจากนี้ ยังมีการกำหนดมาตรฐานและราคาของโปรแกรมการท่องเที่ยว
                 ส่วนท้องถิ่นเหล่านี้มีบทบาทต่อการสนับสนุนเครือข่ายในด้านการให้บริการ         โดยชุมชน และการทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
                 สาธารณะ                                                                      เครือข่ายด้วยการทำเป็นแผนพับ การจัดทำวิดีทัศน์แนะนำการท่องเที่ยว และ
                                                                                              เผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ รวมถึงการจัดทำปฏิทินการท่องเที่ยวในรอบปีของ
        
     ๏ หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค เช่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย                 เครือข่ายในชุมชนต่างๆ โดยข้อมูลทั้งหมดนี้ได้ถูกประชาสัมพันธ์ผ่านเวบไซต์ของ
                 (สกว.) ทำหน้าที่สนับสนันข้อมูลเชิงวิชาการที่มาจากการวิจัย การท่องเที่ยว
                 และการกีฬาจังหวัดสตูลให้การสนับสนุนด้านการพัฒนาบุคลากร                       เครือข่ายและหน่วยงานอื่นที่เป็นภาคีของชุมชนท่องเที่ยว ผลที่ตามมาจากการจัด
                                                                                              กิจกรรมนี้คือการขยายเครือข่ายเพิ่มมากกว่าเดิม รวมถึงนักท่องเที่ยวและรายได้ให้
                 สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสตูล การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัด
                 ตรัง สำนักงานการเกษตรจังหวัดสตูล และวิทยาลัยชุมชนสตูล                        กับชุมชนมากขึ้นกว่าเดิม
                                                                                                    2. มหกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดสตูลและระดับภาคใต้ หรืองาน
        
     ๏ ภาคเอกชน เช่น ผู้ประกอบการนำเที่ยวต่างๆ ในจังหวัดสตูล
                                                                                              “มาแลต๊ะท่องเที่ยวโดยชุมชน” ปี พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2558 เพื่อการ
        
     ๏ ภาคประชาสังคม โดยมีทั้งที่เป็นเครือข่ายชุมชนการท่องเที่ยวจังหวัดสตูล          ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของชุมชนก็ช่วยขยายเครือข่ายการท่องเที่ยวเพิ่มมากกว่า

                 ทั้ง 24 ชุมชนที่ต่างก็ขับเคลื่อนกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่        เดิม โดยมีการสาธิตการแสดงพื้นบ้าน ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น และการจำหน่าย
                 ของตนเอง ชมรมมัคคุเทศก์จังหวัดสตูล และสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว               อาหารและผลิตภัณฑ์พื้นบ้านเพื่อการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของเครือข่ายให้เป็นที่
                 จังหวัดสตูล                                                                  รู้จักมากกว่าเดิม

        
     ๏ สถาบันการศึกษาในแต่ละชุมชน และวิทยาลัยชุมชนจังหวัดสตูลที่เข้ามา 
                   ในแง่ของผลลัพธ์ของโครงการดังกล่าวทำให้รายได้ของแต่ละชุมชนเครือข่าย
                 สนับสนุนด้านองค์ความรู้แก่เครือข่ายด้านอาหาร                                 การท่องเที่ยวเพิ่มมากกว่าเดิม โดยจากการสำรวจในปี พ.ศ.2555 รายได้ของชุมชน

                                                                                              บากันใหญ่ซึ่งอยู่ในเครือข่ายการท่องเที่ยวอยู่ที่ 100,000 บาท ปีต่อมามีรายได้รวม
              ที่ผ่านมา เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดสตูลมีกิจกรรมที่โดดเด่นอยู่
        2 โครงการคือ                                                                          200,000 บาท ปี พ.ศ.2557 มี 1,000,000 บาท และปี พ.ศ.2558 ระหว่างเดือน
                                                                                              มกราคม-กรกฎาคม มีรายได้ 1,150,000 บาท ขณะที่จำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาใน
                                                                                              ชุมชนเครือข่ายท่องเที่ยวต่างๆ ก็มีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย อันเป็นผลมาจากการ


        รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148