Page 205 - kpi17733
P. 205
20 205
เทศบาลเมืองลำพูน เป็นเมืองเก่าที่มีอายุถึง 1,400 ปี ซึ่งมีมรดกทาง เครือข่ายการอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่นเพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน
วัฒนธรรมซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของความเป็นเมืองเก่าหรือเมือง เรือนพื้นถิ่น ถือเป็นมรดกทางสถาปัตยกรรมของแต่ละท้องถิ่น ที่แสดงให้เห็น
ประวัติศาสตร์ ได้แก่ คูเมือง กำแพงเมือง คุ้มเจ้าเมือง บ้านเก่า ศิลปะลวดลาย
ถึงรากเหง้าทางภูมิปัญญา สภาพแวดล้อม วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี ของ
ที่สลักลงบนแท่นปูนปั้น งานแกะสลักในวัด ต้นไม้ใหญ่พื้นถิ่นที่อยู่คู่กับเมืองเก่า ผู้คนในพื้นถิ่นนั้นๆ เสมือนสมุดบันทึกเรื่องราวจากอดีตมาสู่ปัจจุบันผ่านทางงาน
เป็นต้น นอกจากนี้ ลักษณะของผังเมืองเก่าลำพูนจากการมองในมุมกว้างนั้นเป็น สถาปัตยกรรม การออกแบบเรือนพื้นถิ่นลำพูน มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
เมืองที่มีคูน้ำคันดินเป็นปราการกั้นชั้นแรก ก่อนจะมาถึงกำแพงเมืองล้อมรอบเป็นรูป ของตนเองแตกต่างจากเรือนพื้นถิ่นในภาคอื่นๆ รูปแบบของเรือน สะท้อนถึงค่านิยม
หอยสังข์ ซึ่งเป็นลักษณะผังเมืองแบบโบราณ ทั้งนี้ จากการเป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่ การเชื่อมโยงระหว่างเจ้าผู้ครองนครกับความเป็นอยู่ของคนลำพูน ส่วนใหญ่สร้างขึ้น
มีมรดกทางวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ที่ยังคงสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งร่องรอย มาจากการผสมผสานวัฒนธรรมระหว่างของท้องถิ่นกับตะวันตก ซึ่งเข้ามาทำการ
ของการสร้างบ้านเมืองในสมัยก่อนยังคงหลงเหลืออยู่ให้เห็นโดยทั่วไปโดยเฉพาะ
ค้าขายกับคนล้านนาและได้ทิ้งอิทธิพลไว้ในรูปแบบของอาคารบ้านเรือน ลักษณะของ
ในเขตเมืองชั้นใน แต่แนวโน้มในอนาคตอันใกล้การเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ เรือนพื้นถิ่นลำพูน เป็นเรือนไม้ ยกใต้ถุนสูง หลังคาทรงจั่วมนิลา ส่วนยอดและ
สังคม และวิถีชีวิต รวมถึงการอยู่อาศัยของชุมชนใหม่ซ้อนทับชุมชนเดิม ย่อมส่งผล มุมตกแต่งด้วยสรไน แฝงภูมิปัญญาพื้นบ้านอันทรงคุณค่า มีเอกลักษณ์และมีความ
ทำให้เขตเมืองเก่าลำพูนมีแนวโน้มที่จะสูญเสียอัตลักษณ์ของเมืองลำพูนไป
สวยงาม ดังที่ชาวลำพูนนิยมเรียกกันว่า “เรือนสาระไน” ซึ่งในปัจจุบัน เหลืออยู่เพียง
เทศบาลเมืองลำพูน ได้ตระหนักถึงความสำคัญอย่างเร่งด่วนในการอนุรักษ์ ไม่กี่แห่ง หากไม่มีการอนุรักษ์และปล่อยให้มีการรื้อถอนเปลี่ยนแปลงรูปแบบเรือน
เมืองเก่า ประกอบกับศักยภาพของพื้นที่ในเขตเมืองลำพูน ที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่ง เหล่านี้ไป ก็จะไม่เหลือหลักฐานอันทรงคุณค่าให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมได้ เทศบาลจึงร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ผลักดันให้มีการ เทศบาลเมืองลำพูน ได้เล็งเห็นคุณค่าความสำคัญของสถาปัตยกรรมและ
ดำเนินโครงการเกี่ยวกับการสืบสานประเพณีศิลปวัฒนธรรมเมืองลำพูน การพัฒนา ภูมิปัญญาพื้นถิ่นเหล่านี้จึงวางนโยบายในการอนุรักษ์ป้องกันการทำลายคุณค่าของ
เมืองเก่าลำพูน การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมโดยให้มีการอนุรักษ์อาคารดั้งเดิมและ อาคารเก่าให้คงอยู่เป็นมรดกทางสถาปัตยกรรมสืบต่อไป หนึ่งในอาคารที่เทศบาล
พัฒนาพื้นที่ พร้อมปรับสภาพภูมิทัศน์บริเวณเมืองเก่า เพื่อดึงดูดความสนใจให้ผู้คน ได้ริเริ่มและดำเนินการอนุรักษ์มาก่อนหน้า คือ อาคารคุ้มเจ้าราชสัมพันธวงษ์ ดังนั้น
ได้มาศึกษาและเยี่ยมชม พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวของเมือง การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่นเพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน เป็นโครงการที่ต่อยอด
ลำพูน ตามแนวคิด “เมืองเก่าที่มีชีวิต” ซึ่งดำเนินงานโดยอาศัยการสร้างความร่วมมือ
จากความสำเร็จของการบริหารจัดการและการอนุรักษ์อาคารเก่าคุ้มเจ้าราชสัมพันธวงษ์
และการเสริมสร้างเครือข่ายกับทุกภาคส่วน เพื่อให้เกิดกระบวนการพัฒนาแบบยั่งยืน ตามแนวทางการพัฒนาแผนแม่บทและผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณเมือง
และตอบโจทย์วิสัยทัศน์ของเทศบาลเมืองลำพูนที่ว่า “เมืองแห่งความพอเพียง
เก่าลำพูน ซึ่งเทศบาลเมืองลำพูน เป็นองค์กรหลักนำไปสู่การขับเคลื่อนและขยายผล
เคียงคู่เมืองคุณภาพชีวิตที่ดี มีเอกลักษณ์เมืองเก่า พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”
ยังเครือข่ายต่างๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน
สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ ทั้งนี้ เพื่อยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยวเมืองลำพูน ให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว
เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลเมืองลำพูน ได้แก่ เชิงวัฒนธรรมล้านนาและธรรมชาติของภูมิภาค เสริมสร้างอัตลักษณ์ล้านนา ภายใต้
นโยบายและคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58