Page 114 - kpi20109
P. 114
112 11
เทศบาลตำบลอุโมงค์ ได้กำหนดเป้าหมายสูงสุดของตำบลให้เป็น “ตำบลน่าอยู่อย่าง learn เพื่อเรียนรู้เรื่องความซื่อสัตย์สุจริตตามนโยบายโตไปไม่โกง และกลุ่มสภาเด็กและเยาวชน
ยั่งยืน” ซึ่งเทศบาลตระหนักดีว่า ไม่สามารถดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้เพียงลำพัง ส่งเสริมการทำกิจกรรมของกลุ่มเด็กและเยาวชนเพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็นต้น
จึงประสานพลังความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม ในระดับตำบล การทำงานในลักษณะเครือข่ายของเทศบาลตำบลอุโมงค์ ช่วยให้เทศบาลตำบลอุโมงค์
อำเภอ จังหวัด และประเทศ ตลอดจนภาคีเครือข่ายในต่างประเทศ ทั้งในลักษณะแบบเป็นทางการ ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของชาวตำบลอุโมงค์ได้ครอบคลุมมากถึง 13 กลุ่ม และ
คือ มีการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) และแบบไม่เป็นทางการ ส่งผลให้ปัจจุบัน สามารถพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในทุกมิติแบบองค์รวมเพื่อขับเคลื่อนสู่ “ตำบลน่าอยู่อย่างยั่งยืน”
เทศบาลตำบลอุโมงค์มีภาคีเครือข่ายในการทำงานเป็นจำนวนมากและสามารถพัฒนาตำบลอุโมงค์
ให้มุ่งสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ได้ สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ
ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายภาครัฐเอกชน และประชาสังคม ได้แก่
การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายช่วยให้เทศบาลตำบลอุโมงค์ก้าวข้ามข้อจำกัดที่มีอยู่
โดยเทศบาลได้อาศัยความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ทักษะ และประสบการณ์ที่หลากหลาย กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลอุโมงค์
รอบด้านของภาคีเครือข่ายมาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นในหลายมิติเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเป็นตำบล กองทุนสวัสดิการชุมชน เป็นระบบสวัสดิการของชุมชนในตำบลอุโมงค์เพื่อให้คนในชุมชน
น่าอยู่อย่างยั่งยืน ยกตัวอย่างเช่น สามารถพึ่งตนเองและดูแลกันเองได้ ตั้งแต่เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป้าหมายของกองทุน คือ การให้
การพัฒนาคุณภาพชีวิต เทศบาลตำบลอุโมงค์ได้ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายในการ บริการแก่ผู้ที่เป็นสมาชิกกองทุนและผู้ยากไร้ ทั้งนี้ ชุมชนร่วมกันบริหารจัดการและร่วมกันรับ
ดำเนินโครงการ/กิจกรรมต่างๆ เช่น กลุ่มอาสาปันสุข ให้ความช่วยเหลือผู้พิการ ผู้ป่วย และ ผลประโยชน์ในลักษณะที่ “ทุกคนร่วมกันเป็นเจ้าของ” โดยมีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการระดับ
ผู้ด้อยโอกาส, กลุ่ม อปพร. ให้ความช่วยแหลือแก่ผู้ประสบสาธารณภัย, ธนาคารความดี ส่งเสริม หมู่บ้านและคณะกรรมการระดับตำบลทำหน้าที่ในการบริหารจัดการ สำหรับสมาชิกกองทุน
การทำความดีของคนในชุมชน, ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุและผู้พิการ, ทำการออมเงินวันละหนึ่งบาท และจะได้รับสวัสดิการครอบคลุม จำนวน 26 เรื่องตามระเบียบ
โรงเรียนดอกซอมพอ ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในการดูแลตนเอง และกลุ่มเฮือนสมุนไพรร่วมกับ กองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาลตำบลอุโมงค์ว่าด้วยการจ่ายเงินกองทุนสวัสดิการ พ.ศ. 2561
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุโมงค์ ดูแลด้านสุขภาพของชาวตำบลอุโมงค์ เป็นต้น ฉบับที่ 4 ได้แก่ 1) แรกเกิด 2) คลอดบุตร 3) จบอนุบาล 4) จบประถมศึกษาปีที่ 6
5) จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 6) จบมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือปวช. 7) จบอนุปริญญาหรือเทียบเท่า
การเสริมสร้างรายได้ เทศบาลตำบลอุโมงค์ได้ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายในการ 8) จบปริญญาตรี 9) บวชสามเณร 10) บวชพระภิกษุ 11) เป็นทหารเกณฑ์ 12) สมรส
ส่งเสริมให้ชาวตำบลอุโมงค์ทำการเกษตรอย่างยั่งยืนเพื่อเสริมสร้างรายได้ เช่น กลุ่มครัวเรือน 13) ขึ้นบ้านใหม่ 14) อายุครบ 70 ปี 15) อายุครบ 80 ปี 16) ออมครบ 10 ปี อายุครบ 60 ปี
เศรษฐกิจพอเพียง ให้ความรู้แก่เกษตรกรเรื่องที่ทำกิน การเพาะปลูก และการเลี้ยงสัตว์ เพื่อยังชีพ 17) ออมครบ 15 ปี อายุครบ 60 ปี 18) ออมครบ 25 ปี อายุครบ 60 ปี 19) ค่าเดินทางเพื่อไป
และขายเป็นรายได้ และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อเป็นรายได้เสริม รักษาพยาบาล 20) ค่ารักษาพยาบาล 21) ออมครบ 180 วัน เสียชีวิต 22) ออมครบ 2 ปี เสียชีวิต
ให้แก่คนในชุมชน 23) ออมครบ 4 ปี เสียชีวิต 24) ออมครบ 6 ปี เสียชีวิต 25) เสียชีวิตหรือลาออกไม่เข้าข่ายได้รับ
การจัดการศึกษา เทศบาลตำบลอุโมงค์ได้ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายในการจัดการ สวัสดิการข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับเงินชดเชยเงินฝากสัจจะตามจำนวนที่ฝากไว้ และ 26) เป็นสมาชิก
ศึกษา เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุโมงค์ ให้ทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียนในระดับอนุบาล, เกิน 10 ปี หากเสียชีวิตไม่ได้รับสวัสดิการก่อนนั้น ตามข้อกำหนดในระเบียบ ให้ได้รับสวัสดิการ
โรงเรียนเทศบาลอุโมงค์ 1 ส่งเสริมให้เด็กนักเรียนในระดับประถมศึกษาทำกิจกรรม play and ตามข้อกำหนดและได้รับเงินชดเชยอีก 50 % ของเงินฝากสัจจะที่ฝากไว้กับกองทุนฯ ในเวลานั้น
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61