Page 115 - kpi20109
P. 115
11 115
เทศบาลตำบลอุโมงค์ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณแก่กองทุน จำนวน 1,200,000 บาท ซึ่งสาเหตุสำคัญมาจากลูกหลานจำเป็นต้องทำงานในช่วงเวลากลางวัน หรือบางครอบครัวไม่ได้
ต่อปี ซึ่งกองทุนได้นำงบประมาณส่วนนี้ไปใช้จัดเป็นสวัสดิการ จำนวน 14 เรื่องจากทั้งหมด ให้การดูแลเอาใจใส่เท่าที่ควร ส่งผลให้ประชากรกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดีมากนัก
26 เรื่อง นอกจากนี้ เทศบาลยังได้เสริมสร้างให้เกิดเครือข่ายในการบริหารจัดการกองทุนเพื่อให้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา เทศบาลตำบลอุโมงค์จึงเริ่มต้นดำเนินงานในการดูแลเอาใจ
กองทุนมีความเข้มแข็งและยั่งยืน โดยมีการประสานงานกับหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ใส่และให้ความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โรงพยาบาล ถูกทอดทิ้ง โดยจัดทำโครงการใหม่เพิ่มเติมขึ้นมา คือ การจัดตั้งชมรมอาสาปันสุขตำบลอุโมงค์
จังหวัดลำพูน โรงพยาบาลอำเภอสารภี สมัชชาสุขภาพจังหวัดลำพูน สถาบันวิจัยหริภุญชัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ซึ่งเป็นชมรมที่เกิดจากการรวมตัวกันของจิตอาสากลุ่มต่างๆ ในตำบลอุโมงค์ เพื่อเสริมสร้าง
อาสาสมัครจิตอาสาในการทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสในชุมชน ทั้งนี้ เทศบาล
จังหวัดลำพูน ธนาคารเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาอุโมงค์ มหาวิทยาลัยธนบุรี โครงการ ตำบลอุโมงค์ประสานพลังกับเครือข่ายทั้ง 4 ภาคส่วนในการดำเนินงาน ได้แก่ องค์กรปกครอง
วิจัยและพัฒนาระบบสวัสดิการชุมชน สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ส่วนท้องถิ่นอื่น, ฝ่ายท้องที่ หรือ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน, หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น สถานีอนามัย
ลำพูน สถาบันพัฒนาองค์กรชุม (มหาชน) เครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชนระดับอำเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สาธารณสุขจังหวัด และสถาบันการศึกษา และกลุ่ม องค์กร
คณะกรรมการกองเลขาส่งเสริมสวัสดิการชุมชนจังหวัดลำพูน และสถาบันป๋วย อึ๊งภากรณ์ ทั้งนี้
ภาคีเครือข่ายได้เข้ามาช่วยให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดระบบสวัสดิการและการจัดทำระบบบัญชี ชุมชนต่างๆ เช่น อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้นำสตรี กลุ่มผู้สูงอายุ และ
กลุ่มผู้นำศาสนา เป็นต้น เทศบาลตำบลอุโมงค์ส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการ
ของกองทุน ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับระเบียบและข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุนงบประมาณ ดำเนินงานทุกขั้นตอน ตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมเรียนรู้ ร่วมพัฒนา และร่วมรับผลประโยชน์
และเข้ามาร่วมในการตรวจสอบบัญชี เป็นต้น
เทศบาลตำบลอุโมงค์เริ่มต้นด้วยการประชุมชี้แจงให้ชุมชนตระหนักถึงสถานการณ์และ
จากปี พ.ศ. 2550 ที่มีสมาชิกแรกเข้าเพียง 5,800 คน สมาชิกกองทุนได้เพิ่มจำนวนมากขึ้น
ทุกปีกระทั่งปัจจุบันปี พ.ศ. 2561 มีสมาชิกทั้งหมด 7,500 คน คิดเป็นร้อยละ 56 ของประชากร ความสำคัญของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และทำความเข้าใจเกี่ยวกับ
เป้าหมายและประโยชน์ในการจัดตั้งชมรมอาสาปันสุข ขณะเดียวกันก็ได้ประสานภาคีเครือข่าย
ทั้งหมด ซึ่งหมายความว่า ชาวตำบลอุโมงค์กึ่งหนึ่งมีสวัสดิการจากกองทุนชุมชนคอยให้ความ ภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เข้ามาร่วมดำเนินงาน จากนั้นจึงประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัคร
ช่วยเหลือตั้งแต่เกิดจนตาย ที่สำคัญการมีภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมบริหารจัดการกองทุนส่งผลให้ สมาชิกของชมรม ซึ่งต้องเป็นผู้มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลอุโมงค์
กองทุนมีศักยภาพและสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน กลายเป็นต้นแบบหรือตัวอย่างให้แก่ ภารกิจของสมาชิกชมรม ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่
กองทุนอื่นๆ โดยเป็นแหล่งศึกษาดูงานของคณะดูงานมากกว่า 300 คณะ และกองทุนสวัสดิการ
ชุมชนตำบลอุโมงค์ยังได้รับการยอมรับในระดับประเทศโดยได้รับรางวัลชนะเลิศด้านการพัฒนา 1. การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ได้แก่ การซักประวัติ วัดความดันโลหิต ปฐมพยาบาล
ระบบบริหารจัดการกองทุนที่ดีและมีธรรมาภิบาลดีเด่น ประจำปี 2559 เบื้องต้น และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
ชมรมอาสาปันสุข “คนอุโมงค์ไม่ทอดทิ้งกัน” 2. การดูแลอนามัยส่วนบุคคล ได้แก่ การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายตั้งแต่
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีเป็นภารกิจสำคัญประการหนี่ง เส้นผมจรดปลายเท้า เพื่อไม่ให้เกิดเชื้อโรคที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาลตำบลอุโมงค์จึงสำรวจสถานการณ์ของประชากรกลุ่ม 3. การดูแลสิ่งแวดล้อมภายในที่พักอาศัย ได้แก่ การจัดและทำความสะอาดที่พักอาศัยให้
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่และพบว่า ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลอุโมงค์มีประชาชน ถูกสุขลักษณะ มีอากาศถ่ายเท ห้องน้ำห้องส้วมสะอาด ไม่มีกลิ่น และไม่อับชื้น สิ่งของ
กลุ่มนี้ รวมทั้งสิ้น 3,241 คน และ จำนวน 652 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 20.12 ขาดผู้ดูแล จัดวางเป็นระเบียบ และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ตลอดจนมีถังขยะที่มีฝาปิดมิดชิด
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61