Page 117 - kpi20109
P. 117

116                                                                                                                                                       11


              4.  การดูแลสิ่งแวดล้อมภายนอกที่พักอาศัย ได้แก่ การดูแลและทำความสะอาดบริเวณ            ชมรมอาสาปันสุขตำบลอุโมงค์ สามารถดูแลและให้ความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
                 โดยรอบที่พักอาศัย ให้มีแสงสว่างส่องถึง ไม่เฉอะแฉะ มีการจัดการขยะที่เหมาะสม   และผู้ด้อยโอกาสที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือถูกทอดทิ้ง ครบถ้วนทั้ง 652 คน แบ่งเป็น
                 และจัดสถานที่สำหรับเลี้ยงสัตว์ให้เป็นสัดส่วน                                 ผู้สูงอายุ จำนวน 74 คน ผู้พิการ จำนวน 346 คน และผู้ด้อยโอกาส จำนวน 55 คน รวมทั้ง
                                                                                              ยังสามารถขยายผลการดูแลและให้ความช่วยเหลือไปยังประชากรกลุ่มอื่นในชุมชน ได้แก่ ผู้ป่วย
              5.  การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การรวบรวมและบันทึกข้อมูลของกลุ่มเป้าหมาย
                 จากการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม รวมถึงการตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้องและทันสมัยสำหรับ   เรื้อรัง จำนวน 58 คน คุณแม่หลังคลอด จำนวน 55 คน และผู้มีปัญหาทางด้านสุขภาพ จำนวน
                                                                                              64 คน กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลและช่วยเหลือแบบองค์รวมใน 4 มิติ คือ สุขภาพ จิตใจ สังคม
                 การใช้งานในครั้งต่อไป
                                                                                              และสภาพแวดล้อม ซึ่งส่งผลให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้ปกติสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
              ก่อนการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสในชุมชนแต่ละครั้ง      นอกจากนี้ ได้เกิดอาสาสมัครจิตอาสาเพื่อดำเนินงานครบทุกหมู่บ้าน และมีการขยายเครือข่ายอาสา
        ชมรมจะจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างสมาชิกชมรมและภาคีเครือข่าย เพื่อทำความเข้าใจ     สมัครจิตอาสาออกไปยังเขตพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น โดยมีองค์กรปกครอง

        เตรียมความพร้อม และวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายที่จะทำการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม ข้อมูลของ      ส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศมาศึกษาดูงานและนำกลับไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ จำนวน 110 แห่งๆ ละ
        กลุ่มเป้าหมายมาจากฐานข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน      30 คน รวม 3,300 คน ซึ่งเครือข่ายได้มีการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเป็นประจำเสมอ
        และกองสาธารณสุขของเทศบาล โดยชมรมทำการแบ่งกลุ่มเป้าหมาย จัดลำดับความสำคัญตาม           ที่สำคัญ จากการที่เทศบาลตำบลอุโมงค์ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชมรมอย่าง
        สภาพปัญหาและความเร่งด่วน และจัดทำแผนงานสำหรับการลงพื้นที่โดยมีการประสานงาน            เต็มที่ในทุกขั้นตอน ส่งผลให้ชุมชนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและมีสำนึกความรับผิดชอบในการทำ
        ล่วงหน้ากับครอบครัวของกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งการลงพื้นที่ทำเป็นประจำทุกเดือนๆ ละ 2 ครั้งใน     กิจกรรมร่วมกัน ประกอบกับการเสริมสร้างเครือข่ายในการดำเนินงานช่วยให้ชมรมมีศักยภาพและ
        วันเสาร์สัปดาห์ที่ 2 และ 4 ภายหลังจากการลงพื้นที่ เทศบาลตำบลอุโมงค์และสมาชิกชมรมทำการ  ความเข้มแข็ง กล่าวคือ มีความรู้ ทักษะ งบประมาณ และทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงาน ชมรม

        สรุปผลการทำกิจกรรม ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน รวมถึงค้นหา          อาสาปันสุขตำบลอุโมงค์จึงสามารถพึ่งตนเองและดำเนินงานได้ต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งในปี พ.ศ. 2560
        แนวทางการพัฒนาปรับปรุงการทำกิจกรรมในครั้งต่อไป                                        ที่ผ่านมา ได้จดทะเบียนเป็นองค์กรอิสระเรียบร้อยแล้ว

              ในการดำเนินกิจกรรม ภาคีเครือข่ายแบ่งปันทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงานร่วมกัน      โรงเรียนดอกซอมพอ
        กล่าวคือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้การสนับสนุนข้อมูล บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ และ            เทศบาลตำบลอุโมงค์ มีประชากรผู้สูงอายุ จำนวน 3,156 คน แบ่งเป็นชาย 1,390 คน
        วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม ที่สำคัญมีการจัดตั้งธนาคารกายอุปกรณ์เพื่อให้  หญิง 1,766 คน คิดเป็นร้อยละ 24.14 ของประชากรทั้งหมด รวมทั้งมีผู้ที่เตรียมตัวเข้าสู่
        กลุ่มเป้าหมายได้รับความช่วยเหลือทางด้านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ช่วยในการฟื้นฟูสภาพร่างกาย  วัยผู้สูงอายุ (ช่วงอายุ 50 – 59 ปี) จำนวน 2,538 คน จากสถิติดังกล่าวทำให้เทศบาลตำบลอุโมงค์

        และอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ของธนาคาร        ทราบว่า เขตพื้นที่ของตนมีจำนวนผู้สูงอายุมากเป็นอันดับหนึ่งในจังหวัดลำพูน ประกอบกับ
        ล้วนมาจากการบริจาคของประชาชนและภาคเอกชนในพื้นที่,  สำนักงานพัฒนาสังคมและความ          การสำรวจข้อมูลของผู้สูงอายุในพื้นที่ ทำให้ทราบว่า ในพื้นที่มีผู้สูงอายุทั้ง กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติด
        มั่นคงของมนุษย์สนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์, กองทุนต่างๆ ในพื้นที่ เช่น   สังคม และกลุ่มติดเตียง ซึ่งผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียงประสบภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เป็นผู้พิการ
        กองทุนออมทรัพย์สวัสดิการชุมชน กองทุนอาสาปันสุข และกองทุน 1 บาท 1 การประชุม เป็นต้น    และถูกทอดทิ้งให้อยู่เพียงลำพัง หรืออยู่ร่วมกับผู้สูงอายุด้วยกัน หรืออยู่ร่วมกับผู้พิการ ขณะที่
        สนับสนุนงบประมาณสำหรับการพัฒนาศักยภาพของสมาชิกชมรม และจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ รวมถึง      ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดสังคมมีพฤติกรรมดื่มสุราและสูบบุหรี่

        อาหารเสริมให้แก่กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงานราชการ กลุ่ม องค์กรชุมชน และภาคประชาสังคม
        บริจาคเงินเพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของชมรม


        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122