Page 152 - kpi20109
P. 152
150 151
องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว ดำเนินงานในภารกิจต่างๆ ร่วมกับเครือข่าย เครือข่ายป้องกันและควบคุมโรคตำบลดอนแก้ว
โดยยึดหลัก “พลังภาคีเครือข่ายในทุกระดับชั้น ที่จะก่อให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน” ซึ่งจะ
ทำให้ภารกิจต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถดำเนินการได้แม้จะมีงบประมาณ ตำบลดอนแก้วเป็นเขตติดต่อกับอำเภอเมืองเชียงใหม่ซึ่งมีการหลั่งไหลเข้าเมืองของ
ไม่เพียงพอ โดย องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วได้แบ่งเครือข่ายในการทำงานออกเป็น ประชาชน นักท่องเทียวทั่วในประเทศและต่างประเทศ และยังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการกว่า
3 ระดับ ได้แก่ 40 หน่วยงาน ทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดโรคติดต่อแพร่กระจายได้ง่าย หากไม่มีการเฝ้า
ระวังและป้องกันโรคที่ดี การตอบสนองต่อการเกิดโรคที่ทันเวลา และระบบสนับสนุนที่จำเป็น
4 ระดับภายในองค์กร ประกอบไปด้วยหน่วยงานภายในต่างๆ ขององค์การบริหาร
ส่วนตำบลดอนแก้ว ที่จะคอยสนับสนุนด้านบุคลากร ทีมงาน และองค์ความรู้ มาร่วมในการดำเนิน ในปัจจุบันสถานการณ์โรคติดต่อและภัยสุขภาพในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว
โครงการ หรือภารกิจต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว ที่นับว่าเป็นวาระสำคัญที่จะต้องให้ความสำคัญคือ “โรคไข้เลือกออก” และโรคอื่นๆ ได้แก่
โรคไข้หวัดใหญ่ที่มีการระบาดในหน่วยงาน โรคมือเท้าปากที่ระบาดในโรงเรียน และอาหารเป็นพิษ
4 ระดับในพื้นที่ กลุ่มเครือข่ายในพื้นที่ประกอบไปด้วยกลุ่มและหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ พบในโรงเรียน เมื่อเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นหน่วยงานหลักในพื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบคือ หน่วยงาน
ที่อยู่ในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว ซึ่งถือว่าเป็นทุนที่สำคัญที่ องค์การบริหาร ด้านการสาธารณะสุขในพื้นที่ และองค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว และด้วยการทำงานในระยะ
ส่วนตำบลดอนแก้วได้ชักชวนมาเป็นเครือข่ายในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในเขตพื้นที่ เวลาอันสั้นอาจทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว เพียงองค์กรเดียวไม่สามารถจัดการกับ
ปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกๆ ด้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว
4 ระดับนอกพื้นที่ คือ เครือข่ายที่อยู่นอกพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว
เป็นกลุ่มเครือข่ายที่มีความเชียวชาญหรือความชำนาญเฉพาะด้าน ที่สามารถเป็นแรงหนุนในการ จึงตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างการมีส่วนร่วมโดยให้ทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมดำเนินการ
พัฒนาร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ โดยเริ่มจากในชุมชน คือ ชุมชน ประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข และอาสาปศุสัตว์ตำบล
ด้านวัสดุอุปกรณ์ รวมไปถึงด้านบุคลากร เป็นต้น ดอนแก้ว เพื่อให้คนในพื้นที่ตระหนักถึงปัญหาและเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ
ควบคุมโรค หลังจากนั้นก็ได้มีการแสวงหาเครือข่ายจากภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ตำบลดอนแก้ว
โดยองค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วมีวิธีในการดำเนินการเชื่อมสัมพันธ์กับเครือข่าย ในการดำเนินงาน เช่น โรงพยาบาลนครพิงค์ สาธารณสุขอำเภอแม่ริม ปศุสัตว์อำเภอแม่ริม เป็นต้น
เพื่อให้สามารถสร้างนวัตกรรม และพัฒนาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องโดยใช้กระบวนการบ่มเพาะคนสาย จึงเกิดเป็นเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคในตำบลดอนแก้วและมีการร่วม
พันธุ์ดอนแก้ว (Donkaew DNA) โดยเริ่มจากคนในองค์กรและคนในพื้นที่ เพื่อที่จะให้คนทั้ง ดำเนินการเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
สองกลุ่มเกิดความเข้มแข็งและสามารถไปชักชวน โน้มน้าวภาคีเครือข่ายอื่นๆ ให้มาร่วมพัฒนา
พื้นที่อย่างบูรณาการ โดยลักษณะของคนสายพันธุ์ดอนแก้ว จะมีลักษณะ ดังนี้ “ไม่ทุจริต จิตอาสา หน้าที่ของเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมโรค
กล้านำ ทำสิ่งใหม่” ด้วยการดำเนินการของคนสายพันธุ์ดอนแก้วทำให้องค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลดอนแก้ว
ดอนแก้วประสบความสำเร็จในการดำเนินการพัฒนาพื้นที่จนได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำ จากการดำเนินการสร้างเครือข่ายการทำงานขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว ส่งผล
สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ให้เกิดเครือข่ายในการทำงานอยู่ 3 ระดับ คือ เครือข่ายภายในองค์กร เครือข่ายภายในพื้นที่ และ
ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว เครือข่ายภายนอกพื้นที่ ซึ่งจะกล่าวถึงเครือข่ายเพียง 2 ระดับ คือ เครือข่ายภายในพื้นที่ และ
ได้แก่ เครือข่ายภายนอกพื้นที่ ดังนี้
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61