Page 153 - kpi20109
P. 153

152                                                                                                                                                       15


              เครือข่ายภายในพื้นที่                                                                 จากการบูรณาการร่วมกันของเครือข่ายป้องกันและควบคุมโรคตำบลดอนแก้ว องค์การ

              1.  โรงพยาบาลนครพิงค์ มีหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และให้การรักษา  บริหารส่วนตำบลดอนแก้วมีหน้าที่เป็น “นักจัดการเครือข่ายเชิงพื้นที่” ในการป้องกันและควบคุม
        พยาบาล รวมทั้งสนับสนุนประสานงานเครือข่ายพยาบาลในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยัง     โรคในพื้นที่ อำนวยความสะดวก บริหารจัดการคน งาน เงิน และความรู้ต่างๆ เพื่อให้การ
        ดำเนินการจัดระบบเฝ้าระวังโรคและคัดกรองโรค สนับสนุนกำลังพล และยานพาหนะ สถานที่ และ     ดำเนินงานมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายทุกระดับ อีกทั้งยังเป็น
        วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน                                                            หน่วยงานที่คอย “เสริมสร้างความเข้มแข็ง” ให้กับกลุ่มองค์กรเครือข่ายในพื้นที่ให้มีศักยภาพ
                                                                                              ในการป้องกันและควบคุมโรคให้มีความพร้อมที่จะตอบโต้ต่อการแพร่กระจายของโรคติดต่อ
              2.  โรงเรียนและสถานศึกษาในพื้นที่ทุกโรงเรียน มีหน้าที่ในการร่วมควบคุมโรคภายใน   ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
        โรงเรียนของตน โดยมีเครือข่ายครูทุกคนในโรงเรียนจะเป็นผู้คอยเฝ้าระวังประจำภาคนาม  และ

        ยังสามารถร่วมคัดกรองโรคร่วมกับทีมพยาบาลได้                                            ผลการดำเนินงานเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมโรค

              3.  หน่วยงานอ่างเก็บน้ำห้วยตึงเฒ่า ทำหน้าที่เฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดเหตุจมน้ำในอ่าง  ตำบลดอนแก้ว
        เก็บน้ำห้วยตึงเฒ่า โดยเป็นหน่วยในการการจัดการอบรม (Training center) ให้แก่เด็กและ           จากการทำงานร่วมกับเครือข่ายส่งผลให้อัตราการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกลดลง
        เยาวชนในการว่ายน้ำ การลอยตัว และการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในน้ำ                          จากสถิติในปี พ.ศ.2548 พบว่าในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วมีจำนวนผู้ป่วยเป็นโรคไข้

              4.  เครือข่ายภาคประชาสังคม ได้แก่ อสม. อาสาปศุสัตว์ (อสป.) และจิตอาสาในพื้นที่   เลือดออก จำนวน 79 คน แต่ในปีพ.ศ.2561 พบว่าสถิติผู้ป่วยลดลงเหลือเพียงจำนวน 6 คน
        รวมกันจัดระบบเฝ้าระวังป้องกันโรคในชุมชนของตนเอง ร่วมรณรงค์ในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย      รวมทั้งโรคไข้หวัดใหญ่ที่ในปีพ.ศ.2548 มีจำนวนผู้ป่วย 8 คน แต่ในปีพ.ศ.2561 ไม่พบผู้ป่วย
        พ่นหมอกควัน และฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ฯลฯ                                     เป็นโรคไข้หวัดใหญ่ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการทำงานของเครือข่ายมีการดำเนินการได้อย่างมี
                                                                                              ประสิทธิภาพและครอบคลุมพื้นที่ ตอบโจทย์การเฝ้าระวังในทุกด้าน สิ่งสำคัญที่ทำให้การดำเนิน
              5.  กลุ่มจิตอาสาในพื้นที่ เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้นำหมู่บ้าน โดยกลุ่มเครือข่าย  โครงการประสบความสำเร็จได้นั้น เกิดจากการดำเนินการของเครือข่ายที่มีการเชื่อมประสานข้อมูล
        เหล่านี้จะไม่ได้มีหน้าที่หลักในการดำเนินงาน แต่เป็นกลุ่มที่จะคอยช่วยให้การสนับสนุนการ     ระหว่างกันและมีการสื่อสารกันอย่างต่อเนื่องส่งผลให้การดำเนินงานของเครือข่ายเป็นไปในทิศทาง
        ดำเนินงานเมื่อเกิดเหตุโรคระบาดขึ้น โดยการช่วยบริจาคทรัพย์สินเพื่อซื้อวัคซีน ช่วยรณรงค์    เดียวกัน นอกจากนี้ การบริหารงานของคณะผู้บริหารที่มีการกระจายอำนาจในการดำเนินงาน
        การป้องกันโรค ช่วยฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น
                                                                                              ให้เครือข่ายสามารถตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง โดยที่องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว
              เครือข่ายภายนอกพื้นที่                                                          ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานด้านงบประมาณ บุคลากร ภารกิจและทรัพยากรต่างๆ ร่วมกับเครือข่าย

              ได้แก่ 1) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่  2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  จนทำให้ประสบความสำเร็จในการสร้างนวัตกรรม “เครือข่ายป้องกันและควบคุมโรคตำบล
        เชียงใหม่ 3) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 4) สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด 5) สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ          ดอนแก้ว”

        6) เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอแม่ริม    เครือข่ายวิทยาลัยจิตอาสาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
        หน่วยงานเหล่านี้เป็นเครือข่ายที่คอยสนับสนุนความรู้ทางวิชาการ การวิเคราะห์ข้อมูลการระบาด
        ของโรคเพื่อหาทางควบคุมที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่องค์การบริหาร       จากสภาพปัญหาสังคมในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วที่เปลี่ยนแปลงลักษณะ
        ส่วนตำบลดอนแก้ว ไม่สามารถจัดซื้อจัดจ้างได้ รวมทั้งให้การสนับสนุนด้านบุคลากรในการ      ของชุมชนจากชุมชนผสมผสานกึ่งเมืองกึ่งชนบทกลายเป็นชุมชนเมือง ประกอบกับจำนวน
        ดำเนินงานร่วมกัน                                                                      กลุ่มประชากรพิเศษ ซึ่งได้แก่ ผู้ด้อยโอกาส สตรีกลุ่มเสี่ยง ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยระยะ



        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158