Page 156 - kpi20109
P. 156

15                                                                                                                                                        155


        สุดท้าย ผู้ป่วยจิตเวช ผู้พิการ เด็กและเยาวชนด้อยโอกาส มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องและ  การจัดทำหลักสูตรวิทยาลัยอาสาพัฒนาคุณภาพชีวิตจะไม่สามารถประสบความสำเร็จได้
        ยังไม่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณะจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ นอกจากนี้ ยังพบว่า     หากขาดการทำงานร่วมมือกันในการทำงานของเครือข่ายในพื้นที่ โดยแต่ละเครือข่ายมีบทบาทและ
        ประชากรกลุ่มพิเศษในบางชุมชนถูกทอดทิ้งในช่วงเวลากลางวันเนื่องจากสมาชิกในครอบครัว       หน้าที่ ดังนี้
        ต้องออกไปทำงาน ทำให้ขาดคนดูแลส่งผลให้กลุ่มประชากรพิเศษบางรายมีสุขภาพแย่ลง
                                                                                                    เครือข่ายในพื้นที่
              จากปัญหาข้างต้นทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วได้นำเอาแนวคิดเรื่อง                  1.  ครูชุมชน มีหน้าที่ในการร่วมเป็นผู้สอนและให้ความรู้แก่ประชาชนด้านจิตอาสา
        “จิตสาธารณะ” มาใช้ในการส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
        สร้างสังคมแห่งการเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดเป็นนโยบายการบริหารจัดการของ   2.  ภาคเอกช มูลนิธิ ร้านค้า สถานประกอบการ  มีหน้าที่ในการร่วมต้อนรับเครือข่ายและ
        องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วที่มุ่งเน้นการดูแลและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตาม        ร่วมให้แหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ฝนชุมชน
        วิสัยทัศน์การพัฒนา คือ “ดอนแก้วตำบลแห่งสุขภาวะ” นำมาซึ่งวิธีการจัดการปัญหาของชุมชน          3.  วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ได้เข้ามาร่วมสนับสนุนบุคลากร ในการสอนประจำวิชา

        โดยอาศัยกลไกการทำงานในรูปแบบของจิตอาสาที่ชุมชนเป็นผู้ดำเนินการด้วยตนเอง               ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตอาสา

              การดำเนินโครงการเครือข่ายวิทยาลัยจิตอาสาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตมีจุดเริ่มต้นจาก         4.  โรงพยาบาลนครพิงค์ ร่วมสนับสนุนบุคลากรในการสอนประจำวิชาสุขภาวะ 4 มิติ
        การนำแนวคิดเรื่องจิตอาสาหรือจิตสาธารณะเข้าสู่เวทีกำกึ๊ดหรือลานระดมความคิดเห็นของตำบล  วิชาการดูแลผู้สูงอายุ และวิชาการดูแลคนพิการและผู้ด้อยโอกาส
        ซึ่งมีประชาชน ผู้นำชุมชน ท้องที่หรือกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และภาคีเครือข่ายมาร่วมพูดคุยกัน นำมาสู่  5.  สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมสนับสนุนบุคลากรในการสอน
        การสร้างความร่วมมือในการสร้างเครือข่ายและขยายกลุ่มจิตอาสาให้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น รวมทั้ง  ประจำวิชาการปรับสภาพแวดล้อมในที่พักอาศัย

        สร้างจิตอาสารุ่นใหม่ที่มีทักษะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญสามารถให้ความช่วยเหลือกลุ่มประชากร      6.  พระสงค์ในตำบล ร่วมเป็นผู้สอนในหลักธรรมศาสนา เกี่ยวกับการให้ และการเสียสระ
        พิเศษ ดังนั้น เพื่อเพิ่มศักยภาพของจิตอาสาและสร้างทักษะและความรู้ให้กับจิตอาสาหน้าใหม่
        องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วจึงจัดให้มีหลักสูตรวิทยาลัยอาสาพัฒนาคุณภาพชีวิตขึ้นเพื่อ        7.  โรงพยาบาลชุมชนตำบลดอนแก้ว และกองสวัสดิการสังคม ร่วมสนับสนุนบุคลากร
        ปลูกจิตสำนึกให้ประชาชนในตำบลดอนแก้วร่วมสร้างและพัฒนาตำบลด้วยจิตอาสา เสริมสร้างและ     ในการสอนประจำวิชาสุขภาวะ 4 มิติ
        ขยายกลุ่มคนดีที่มีจิตอาสาในทุกกลุ่มวัยทั่วพื้นที่ตำบลดอนแก้ว ลักษณะการศึกษาจะเน้นทั้งส่วน   เครือข่ายภายนอกพื้นที่

        ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ผู้เข้าอบรมสามารถถ่ายทอดความรู้และเรียนรู้ร่วมกันได้ มีการระยะเวลา       1.  สื่อมวลชล  มีหน้าที่ประชาสัมพันธ์งานเปิดวิทยาลัยเพื่อให้ประชาชนได้รับทราบ
        การอบรม 30 ชั่วโมง ประกอบด้วย ภาคทฤษฎี 15 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติ 15 ชั่วโมง            อย่างทั่วถึงและเชิญชวนให้มีผู้มาสมัครเข้ารับการเรียนการสอน
        โดยหลักสูตรประกอบด้วยรายวิชา ดังนี้
              1.  วิชาความรู้ทั่วไปจิตอาสา                                                          2.  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ให้การสนับสนุนทรัพยากร
              2.  วิชาสุขภาวะ 4 มิติ                                                          ในการจัดการเรียนการสอน
              3.  วิชาการดูแลผู้สูงอายุ                                                             จากการบูรณาการการทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่ายที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้องค์การ
              4.  วิชาการดูแลคนพิการและผู้ด้อยโอกาส                                           บริหารส่วนตำบลดอนแก้วสามารถจัดตั้งวิทยาลัยจิตอาสาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ มีการตั้ง

              5.  วิชาการปรับสภาพแวดล้อม                                                      คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ ซึ่งประกอบด้วย ภาคประชาชน ภาคท้องที่ ภาคท้องถิ่น และ
              6.  วิชาความปลอดภัยในชุมชน

        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161