Page 194 - kpi20109
P. 194
1 2 1
participation) ในการทำงาน ตั้งแต่ในขั้นร่วมกันคิดวางแผนหาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน (เรือหาปลาโบราณที่ชาวบ้านต่อเอง เป็นเรือเอกลักษณ์ของชุมชนบ้านบางเหนียว) เรืออวนลอย
ใช้หลักการจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการระดมความร่วมมือ เรือท้ายเป็ด เป็นต้น ห้องที่ 5 ห้อง “รื่นรมย์แหล่งบันเทิง” จัดแสดงกิจกรรมยามว่างที่ชาวบ้าน
ไม่ว่าจะเป็นด้านงบประมาณจากหลายหน่วยงาน เช่น เทศบาลนครภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ทำเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น โรงฝิ่น โรงรำวง โรงลิเก และโรงงิ้ว เป็นต้น ห้องที่ 6 ห้อง
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ศาลเจ้าบางเหนียว (มูลนิธิเทพราศีและมูลนิธิพรหมมณีศรี) “อ๊ามพ้อต่อก๊ง” แสดงประเพณีพ้อต่อในอดีต ซึ่งเป็นการหามเต่า (ตั่วกู้) มาไหว้องค์พ้อต่อก๊ง
คณะกรรมการศิษย์เก่า คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ชมรมผู้ปกครอง เป็นต้น ด้าน นอกจากนี้ยังมีหมูย่างตัวโตมาถวายด้วย ห้องที่ 7 ห้อง “อ๊ามบางเหนียว” หรือ อ๊ามต่าวบู้เก้งของ
ความร่วมมือในการพัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ฯเองก็ได้ความร่วมมือจากหลายส่วน เช่น ชาวบ้าน เป็นอ๊าม (ศาลเจ้า) เก่าแก่ สร้างเมื่อปี 2447 เป็นอ๊ามแห่งความเชื่อความศรัทธาในพิธี
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ ( สพร.) ผู้ทรงคุณวุฒิ ประชาชนผู้มีความรู้ในเรื่อง ถือศีลกินผักของชุมชนบางเหนียว ห้องสุดท้าย ห้อง “อุโมงค์ 3 ยุค” จัดแสดงภาพในอดีตของ
ประวัติศาสตร์ชุมชน เป็นต้น ทั้งหมดร่วมกันระดมความคิดในการจัดทำศูนย์การเรียนรู้และริเริ่ม ชุมชนบางเหนียวตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยได้รับความร่วมมือจากชาวบางเหนียวอย่างดีเยี่ยม
การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรด้านการท่องเที่ยวให้แก่เด็กและเยาวชน คนในท้องถิ่น โดยใช้ ที่ได้ให้ภาพอันมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ชุมชนเหล่านี้แก่ทางศูนย์ฯ
วิทยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นเอง มีการดำเนินการเชิงบูรณาการ (integrated) โดยการแต่งตั้ง เมื่อศูนย์ฯ ดำเนินการเสร็จสิ้น ทางโรงเรียนได้แต่งตั้งครูเพื่อรับผิดชอบจัดกิจกรรมการ
คณะทำงานที่มาจากหลายฝ่าย ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีนครภูเก็ต รองนายกเทศมนตรี
ผู้บริหารเทศบาล การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สถาบันพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ คณะผู้บริหาร ครู เรียนรู้ให้นักเรียนและชุมชนเกิดรู้ความเข้าใจด้านการท่องเที่ยว ส่งผลให้คนในท้องถิ่นมีจิตสำนึก
รักท้องถิ่นมากขึ้น นักเรียนเกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ศิษย์เก่า ชมรมผู้ปกครองโรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน คนในท้องถิ่น และนักท่องเที่ยวที่สนใจ นอกจากนี้ศูนย์ฯ
คณะกรรมการศาลเจ้าบางเหนียว ชุมชนกอไผ่ ชุมชน 4 0 ห้อง ชุมชนแสนสุข ชุมชนต้นโพธิ์ ยังส่งผลให้เกิดการยกระดับรายได้ของคนในชุมชนผ่านการท่องเที่ยว ทำให้จังหวัดภูเก็ตมีสถานที่
มูลนิธิเทพราศี มูลนิธิพรหมมณีศรี และผู้เชี่ยวชาญด้านอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น ถือเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างรายได้ให้
ด้านการบริหารงานของศูนย์ฯ เน้นการพัฒนาคนในชุมชนท้องถิ่นให้เกิดการเรียนรู้แก้ไขฝึกฝนและ
พัฒนาความสามารถของตนเองเพื่อนำไปสู่การช่วยเหลือตนเองและพึ่งพาตนเองได้ นอกจากนี้ แก่คนในชุมชนบางเหนียว ที่สำคัญที่สุดคือประเพณีวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เป็นอัตลักษณ์
ของท้องถิ่นที่เหมือนจะกำลังเลือนหายไปตามกาลเวลาได้ถูกอนุรักษ์และสืบสานไว้ต่อไป รวมทั้ง
ยังช่วยสร้างความรู้สึกหวงแหนและความรู้สึกเป็นเจ้าของพื้นที่ อันจะนำไปสู่ความภาคภูมิใจ ยังเป็นการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ในรากเหง้าของตนเองให้แก่คนรุ่นหลัง คนใน
ในความเป็นชุมชนบางเหนียวและเกิดความรักในถิ่นกำเนิดของตนเองในที่สุด
ชุมชนเองก็มีส่วนที่จะเข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ ส่งผลให้ให้ศูนย์ฯ แห่งนี้
ศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวบูรณาการเอกลักษณ์ท้องถิ่น (Baan Bangneaw เกิดความยั่งยืนเพราะชุมชนมีส่วนร่วม ศูนย์ฯแห่งนี้ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนที่เอื้อต่อ
Museum) แห่งนี้แบ่งการตกแต่งออกเป็นการตกแต่งภายใน จำนวน 8 ห้อง ห้องที่ 1 ห้อง กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรการท่องเที่ยวบูรณาการเอกลักษณ์ท้องถิ่นที่โรงเรียนจัดให้
“อะหนึ่งหยิน” เป็นห้องที่เล่าถึงประวัติการทำไข่เค็มอะหนึ่งหยิน ทำจากไข่แดงของไข่เป็ดนำมาตาก กับนักเรียนทุกระดับ เพื่อการเรียนรู้ประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตนเองและสามารถถ่ายทอด
แห้งเก็บไว้เป็นอาหารประจำวัน นิยมนำมานึ่งไว้ปากหม้อข้าวแล้วนำมาคลุกข้าวสวยร้อนๆ รสชาติ ความรู้สู่นักท่องเที่ยวได้อีกด้วย
กลมกล่อมอร่อย เป็นอาหารประจำครอบครัวมาตั้งแต่อดีตและหาทานยากมากในปัจจุบัน ห้องที่ 2
ห้อง “ถิ่นฐานบ้านบางเหนียว” พูดถึงบ้านบางเหนียวในฐานะบ้านบ่างเหลียว (ที่ตากแหตากอวน)
ในอดีต ห้องที่ 3 ห้อง “เลิศรสอาหารท้องถิ่น” จัดแสดงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ในครัวเรือนของชุมชน
รวมถึงอาหารการกิน มีรูปปั้นเครื่องมือเครื่องใช้และอาหารถิ่นจำลองหลายชนิด ห้องที่ 4
ห้อง “เรียนรู้วิถีชีวิตชุมชน” ห้องนี้แสดงวิถีชีวิตชาวประมงบ้านบางเหนียว มีเรือก่อจ๊าน
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61