Page 198 - kpi20109
P. 198
1 6 1
เทศบาลนครยะลา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศในการบริหารงาน เพื่อให้การทำงานได้รับการยอมรับและสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงประเด็นผ่านโครงการ
ในทุกมิติเป็นอันดับต้นของประเทศ โดยบริหารราชการด้วยการยึดหลักธรรมาภิบาล และ สภาประชาชน สภากาแฟ เทศบาลสัญจร ประชุมคณะกรรมการชุมชน ศูนย์ประสานงานสวัสดิการ
หลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยยึดถือประชาชนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ประชาชน พบปะยามเช้า
ส่งเสริมการปลุกจิตสำนึกของประชาชนให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของเมือง ภายใต้กระบวนการมี 2. การกระจายอำนาจ ไม่ใช่แค่การกระจายจากส่วนกลางให้แก่ท้องถิ่น แต่คือการที่
ส่วนร่วมของภาคประชาชน (people’s participation) ตั้งแต่กระบวนการร่วมคิด ร่วมวางแผน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกระจายอำนาจสู่ชุมชน ซึ่งเป็นหลักที่เทศบาลยึดถือในการทำงาน
ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ และร่วมตรวจสอบ และให้ความสำคัญในเรื่องการบริการประชาชน
อย่างมีคุณภาพ เท่าเทียมทุกกลุ่มคน มีการกระจายอำนาจสู่ชุมชน สร้างความโปร่งใส ตรวจสอบได้ เสมอมา โดยให้ชุมชนได้คิด ดำเนินการและบริหารจัดการเอง และเทศบาลเป็นเพียง
หน่วยสนับสนุนและที่ปรึกษาให้กับชุมชน เช่น ให้ชุมชนบริหารจัดการสนามกีฬา บริหารจัดการ
และถือปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการ และให้ดูแลรักษาความปลอดภัยภายในชุมชนตนเอง เป็นต้น
มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อลดขั้นตอนการทำงานและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน และเป็น
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้รับทราบอย่างรวดเร็วและทั่วถึง 3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เทศบาลได้สร้างพันธมิตรเครือข่ายในการทำงานกับ
หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนสังคม ส่งผลให้แต่ละหน่วยงานมีการเชื่อมโยง
เทศบาลนครยะลา ใช้หลักการบริหารงานแบบมืออาชีพ 8 ด้าน ประกอบด้วย ประสานการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการบูรณาการ สามารถประหยัดทรัพยากร ลดต้นทุน
1) การมีส่วนร่วมทุกมิติ 2) การกระจายอำนาจ 3) สร้างเครือข่าย 4) ถือปฏิบัติตามกฎหมาย ในการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม
5) สร้างความโปร่งใส 6) บริหารเชิงรุก 7) รับผิดชอบต่อสังคม และ 8) การประเมินผล ส่งผลให้ ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น
เทศบาลนครยะลามีการบริหารงานที่เป็นระบบ มีขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน ทั้งในส่วนบุคลากร
งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และฐานข้อมูล (Data) ที่มีความสำคัญยิ่ง และถูกนำมาใช้ในการ 4. ถือปฏิบัติตามกฎหมาย การบริหารราชการภายในเทศบาลได้ถือปฏิบัติตามกฎหมาย
วางแผนเพื่อการพัฒนาเมือง อีกทั้งยังสามารถยกระดับให้เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High ระเบียบ ข้อบังคับอย่างเคร่งครัด เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ ในขณะ
Performance Organization) รวมไปถึงเครือข่ายภาคส่วนต่างๆ โดยเฉพาะเครือข่าย เดียวกันเทศบาลก็ได้ออกกฎเพื่อบังคับใช้ภายในท้องถิ่นในการสร้างเมืองให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
ภาคประชาชนที่ได้เข้ามาร่วมกันพัฒนาเมืองยะลาตลอดมา ส่งผลให้เทศบาลสามารถขับเคลื่อน และประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยระยะแรกในช่วงของการบังคับใช้กฎหมายกับประชาชนจะใช้
วิสัยทัศน์ “เมืองแห่งพหุวัฒนธรรม สร้างสรรค์นวัตกรรม สู่คุณภาพชีวิตที่ดี” ได้อย่างเป็น หลักการทางรัฐศาสตร์ในการตักเตือน พูดคุย และเจรจา ซึ่งหากยังไม่ปฏิบัติตามจะใช้หลักการทาง
รูปธรรม สามารถพิสูจน์จับต้องได้ในเชิงประจักษ์ ที่ตั้งมั่นอยู่บนการทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วน กฎหมายบังคับอย่างเข้มงวด
ด้วยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมผ่านโครงการ/กิจกรรม/เวที ต่างๆ อย่างเปิดเผย โปร่งใส 5. การสร้างความโปร่งใส จุดเริ่มต้นของความโปร่งใสมาจากการมีส่วนร่วมของประชาชน
สามารถแก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหาและบริบทของชุมชนอย่างแท้จริง ในการรับรู้และได้ร่วมตรวจสอบการดำเนินงานของเทศบาล โดยจัดให้มีศูนย์ข้อมูลข่าวสารเปิดเผย
โดยหลักการบริหารงานที่เทศบาลนครยะลานำมาใช้การพัฒนาเมืองยะลาแบ่งออกเป็น 8 ด้าน ดังนี้
การจัดซื้อจัดจ้าง จัดทำคู่มือประชาชน จัดอบรมเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน การพิจารณาและ
1. การมีส่วนร่วมทุกมิติ เทศบาลนครยะลา มีความเชื่อว่าเมืองจะบริหารและพัฒนา ตรวจสอบแผนพัฒนาท้องถิ่น การจัดทำแผนป้องกันการทุจริต และการตรวจสอบภายในระดับ
ได้อย่างยั่งยืนต้องอยู่บนพื้นฐานความเข้าใจและการสำนึกรักท้องถิ่นของประชาชน จึงได้ส่งเสริมให้ องค์กร โดยวัดได้จากผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานกับเทศบาล ทั้งประชาชน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ภาครัฐ ประจำปี พ.ศ. 2560 ซึ่งเทศบาลนครยะลาได้รับผลคะแนนในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ
และประชาสังคม และร่วมตรวจสอบการทำงานของเทศบาลผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมทุกมิติ 75.36
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61