Page 200 - kpi20109
P. 200
1 1
6. บริหารเชิงรุก เทศบาลเน้นการปฏิบัติงานด้วยความรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน เทศบาลนครยะลาจึงมีแนวคิดในการใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการ
ที่กำลังเผชิญอยู่ และมุ่งป้องกันปัญหามากกว่าการรอคอยแก้ไข โดยอาศัยหลักการคิดและ ร่วมคิด ร่วมดำเนินการจัดการปัญหาขยะอย่างครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง
วิเคราะห์อยู่บนฐานข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวม ประมวลและสรุปผล และให้ความสำคัญกับ กลางทาง และปลายทาง นอกจากนี้ ได้ร่วมมือกับภาคเอกชนในการศึกษาการแปรรูปขยะมูลฝอย
เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น ปัญหา เป็นเชื้อเพลิง (RDF) เพื่อผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า และเทศบาลให้ความสำคัญกับการปลูกจิตสำนึก
เศรษฐกิจตกต่ำ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การเติบโตของเมืองในอนาคต การสร้าง รักท้องถิ่นแก่เด็กและเยาวชน และประชาชนเพื่อร่วมกันรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ
แบรนด์ของเมือง เป็นต้น เรียบร้อยของบ้านเมืองให้เป็นต้นทุนคู่กับจังหวัดยะลาต่อไป ซึ่งมีความสอดคล้องกับนโยบาย
รัฐบาลด้านที่ 9 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรและการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับ
7. การรับผิดชอบต่อสังคม เทศบาลดำเนินงานโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อประชาชนและ
สิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ หากโครงการใดส่งผลกระทบเป็นวงกว้างและหลากหลาย จะจัดให้มีเวทีรับ การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ในการควบคุมและแก้ไขปัญหาขยะที่เกิดจากการผลิตและการบริโภค
รวมถึงการจัดการขยะมูลฝอยด้วยการแปรรูปเป็นพลังงานและสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี
ฟังความคิดเห็นของประชาชนก่อน นอกจากนี้ได้ให้ความสำคัญกับการรณรงค์ลดโลกร้อนด้วย
การเป็นองค์กรปลอดโฟม รวมถึงการทำฝาย ปลูกป่า และกิจกรรมจิตอาสาอื่นๆ อีกมากมาย ได้เห็นชอบแผนปฏิบัติการประเทศไทยไร้ขยะ ตามแนวทางประชารัฐ ระยะ 1 ปี (พ.ศ. 2559-2560)
ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ.2559-2564) โดยขับเคลื่อน
8. การประเมินผล การประเมินผลมีความสำคัญและจำเป็นต่อการบริหารงานอย่างยิ่ง ประเทศไทยไปสู่สังคมปลอดขยะ (Zero Waste Society) โดยมีขั้นตอนการทำงาน ดังนี้
เนื่องจากใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนา หรือยกระดับมาตรฐานการดำเนินงานให้สูงขึ้น อีกทั้ง 1. ประชุมวางแผน เชิญประชุมทุกภาคส่วนทั้งหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชนและ
ยังเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อวัดความสำเร็จของการดำเนินงานด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ได้เป็นอย่างดี โดยได้สำรวจข้อมูลและความพึงพอใจต่อการดำเนินงานทุกโครงการ พร้อมสรุปผล ประชาชน ในการรับฟังปัญหาความต้องการและแนวทางการขับเคลื่อนการจัดการปัญหาขยะ เพื่อ
สร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดและการร่วมตัดสินใจ ผ่านเวทีสาธารณะต่างๆ
ให้ผู้บริหารใช้เป็นข้อมูลในการปรับการทำงานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ยังใช้หลักการวิจัยมาใช้ใน
การพัฒนาเมือง การส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน รวมถึงถอดบทเรียนในการดำเนินงานเพื่อ 2. ดำเนินกิจกรรม โดยการจัดการปัญหาขยะได้แบ่งขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
เผยแพร่ให้แก่หน่วยงานอื่นๆ
2.1 การจัดการขยะต้นทาง เทศบาลนครยะลาได้ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ลดปริมาณและคัดแยกขยะมูลฝอยต้นทางเพื่อนำขยะกลับมาใช้ใหม่ซึ่งเป็นจุดเน้นที่สำคัญ โดยจัด
ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ของเทศบาลนครยะลา ได้แก่ อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 Rs (Reduce-Reuse-Recycle) แก่ประชาชนในชุมชนและขยายผลไป
ยังสถานศึกษาภายในเขตเทศบาล
โครงการสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ
ปัจจุบันสถานการณ์ขยะมูลฝอยทั่วประเทศมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นทุกปี ปี พ.ศ. 2559 2.2 การจัดการขยะกลางทาง เทศบาลเพิ่มประสิทธิภาพระบบการเก็บขนขยะโดย
เทศบาลนครยะลามีขยะมูลฝอยที่ต้องนำไปกำจัดประมาณ 80 ตันต่อวัน โดยมีองค์ประกอบเป็น การติด GPS ประจำรถขยะ เพื่อแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากประชาชนเกี่ยวกับการเก็บขนขยะ
ขยะอินทรีย์ (เศษผักและผลไม้) ร้อยละ 45.15 กระดาษ ร้อยละ 15.21 พลาสติก ร้อยละ 20.16 และร่วมกับสถานศึกษาและประชาชนจัดกิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ
แก้ว ร้อยละ 10.14 โลหะและอื่นๆ ร้อยละ 3.93 ซึ่งเทศบาลต้องใช้งบประมาณในการกำจัดขยะ ส่งเสริมการนำขยะไปใช้ประโยชน์ให้ครัวเรือนและสามารถจำหน่ายขยะได้
สูงถึง 13 ล้านบาทต่อปี เมื่อพิจารณาถึงองค์ประกอบของขยะพบว่า ขยะส่วนใหญ่ร้อยละ 80 2.3 การจัดการขยะปลายทาง ดำเนินการกำจัดขยะโดยวิธีการฝังกลบที่ถูกต้อง
สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ตามหลักสุขาภิบาล และจัดให้มีการรวมกลุ่มพื้นที่จัดการขยะมูลฝอย (Clusters) ขององค์กร
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61