Page 203 - kpi20109
P. 203

202                                                                                                                                                       20


              3.  ร่วมรับผลประโยชน์ ด้วยการจัดกิจกรรมในพื้นที่สวนสาธารณะ เช่น การออกกำลัง     บริการประชาชนได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงาน ดังนี้
        กาย  การจัดแถลงข่าวโดยประชาชนทั่วไป หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนได้ร่วมใช้ประโยชน์
                                                                                                    1.  ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับการสื่อสารผ่านสื่อดิจิทัล โดยศึกษาสื่อแต่ละประเภทว่า
              4.  ร่วมติดตามประเมินผล โดยสำรวจและเก็บข้อมูลสถิติอัตราการรอดของต้นไม้ที่ปลูก   สื่อใดที่เหมาะสมกับประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา จากผลการศึกษาพบว่าประชาชนในเขต

        ในแต่ละกิจกรรม จัดทำเป็นข้อมูลทุกๆ 6 เดือน และลงพื้นที่เก็บข้อมูลประเมินผลการดำเนิน   เทศบาลนครยะลาส่วนใหญ่นิยมใช้ Application Line และ Application Facebook ติดต่อ
        กิจกรรมปลูกต้นไม้จากผู้เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ในแต่ละกิจกรรม                        สื่อสารในชีวิตประจำวัน และได้มีการจัดตั้งกลุ่ม Line ตามกิจกรรมที่สนใจ และมีกลุ่มของ
                                                                                              หน่วยงานต่างๆ อยู่แล้ว ซึ่งเหมาะอย่างยิ่งที่จะรวบรวมและทำเป็นเครือข่ายการมีส่วนร่วมของ
              จากผลการดำเนินงานโครงการร่วมมือร่วมใจสร้างยะลาเป็นนครแห่งสวน (Garden City)
        สามารถเพิ่มพื้นที่สีเขียวได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยมีพื้นที่สวนทั้งหมดรวมเกาะกลางถนน จำนวน   เทศบาลนครยะลา และจากการศึกษาพบว่าเทศบาลนครยะลาควรดำเนินการสร้าง Line@ ของ
                                                                                              เทศบาลซึ่งสามารถมีผู้ติดตามไม่แบบไม่จำกัดจำนวน และสามารถสื่อสารได้แบบตัวต่อตัว
        524 ไร่ และสามารถลดอุณหภูมิในเมืองสร้างความสมดุลให้ระบบนิเวศในชุมชนเมือง

        เกิดกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมภาครัฐ เอกชน เยาวชน และประชาชน โดยได้ร่วมวางแผน        จึงสามารถรับฟังความคิดเห็น หรือเรื่องร้องเรียนได้ดีกว่า ดังนั้น จึงนำ Application Line@
                                                                                              มาช่วยเพิ่มประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสาร
        ร่วมตัดสินใจเพื่อดำเนินกิจกรรมปลูกต้นไม้ ดูแลรักษาต้นไม้ให้เติบโต สร้างจิตสำนึกและ
        ความรู้สึกเป็นเจ้าของต้นไม้  ทั้งนี้ เทศบาลนครยะลามีต้นไม้แล้ว จำนวน 5,000 ต้น และในปีที่  กับเทศบาลนครยะลา
        ผ่านมาได้ร่วมกับทุกภาคส่วนปลูกไม้ยืนต้นอีกจำนวน 2,128 ต้น ต้นไม้ที่ร่วมกันปลูกนี้สามารถ     2.  วางแผนการทำงานและการดำเนินงาน ดังนี้
        ดูดกลับก๊าซเรือนกระจกได้สูงถึง 2,000 tonCo2eq เป็นจำนวนมากที่สุดใน 23 องค์กรปกครอง            2.1 ดำเนินการจ้างเอกชนทำ Line@ เทศบาลนครยะลา และใช้ชื่อว่า @yalacity
        ส่วนท้องถิ่นที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตฟริ้นท์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

        (ที่มา: องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ซึ่งทำให้เทศบาล        2.2 จัดประชุมผู้บริหารและบุคลากรเพื่อทำความเข้าใจ และแนะนำการใช้งาน Line@
        นครยะลาคว้ารางวัลเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน ระดับดีเยี่ยม ประจำปี 2561 อีกด้วย (ที่มา:     และแต่งตั้ง admin และสร้างกลุ่ม @yalacity โดยมีผู้บริหารและพนักงานเป็น admin ของ
        กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม)                                                         Line@ ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีนครยะลา รองนายกเทศมนตรีนครยะลา ประธาน
                                                                                              สภา สมาชิกสภาเทศบาล ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการกอง และพนักงานที่เกี่ยวข้องกับ
        โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยแอพพลิเคชั่น Line@
                                                                                              การบริการประชาชน โดยให้พนักงานเป็นผู้ตอบคำถามของประชาชนในประเด็นต่างๆ อาทิ
              เทศบาลนครยะลา ตระหนักว่าการสื่อสารระหว่างเทศบาลนครยะลากับประชาชนในยุคไทย        การบริหารงาน ปัญหา ความต้องการ การทำความเข้าใจในข้อสงสัยต่างๆ เพื่อให้การบริการ
        แลนด์ 4.0 ได้เปลี่ยนแปลงไปจากรูปแบบเดิม คือ โปสเตอร์ สื่อสิ่งพิมพ์ ป้ายไวนีล วิทยุ โทรทัศน์   ประชาชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว และผู้บริหารจะเป็นผู้กำกับดูแลให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

        กลายเป็นสื่อโซเชียลมีเดีย อาทิ Facebook, Line และจากสถิติประชาชนเข้าถึงเทคโนโลยี
        สารสนเทศถึงร้อยละ 65.3 จึงจำเป็นต้องใช้วิธีการติดต่อสื่อสารเชิงรุกด้วยสื่อดิจิทัล เพื่อให้เข้าถึง    2.3 ประชาสัมพันธ์ช่องทางการสื่อสารใหม่ ผ่าน Line@ ให้ประชาชนทราบ ผ่านทุก
        ประชาชนได้มากขึ้นและส่งข้อมูลให้ตรงจุดและรวดเร็ว จึงได้มีแนวคิดในการพัฒนากระบวนการ    สื่อประชาสัมพันธ์ของเทศบาลนครยะลา
        ติดต่อสื่อสารเชิงรุกโดยแอพพลิเคชั่น Line@ ขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยี            2.4 ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร และรับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่าน Line@
        ไร้สาย (IT & Wireless Technology) มาใช้ในการดำเนินงานต่างๆ ของเทศบาลนครยะลา           เทศบาลนครยะลาได้แต่งตั้งพนักงานให้เป็นเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเฉพาะเรื่องนี้โดยตรง ซึ่งจะทำ
        เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นผ่าน Line@ เพื่อเพิ่มช่องทางในการ  หน้าที่ส่งข่าวสารให้กับประชาชนอย่างสม่ำเสมอ และคอยติดตามเรื่องร้องเรียนของประชาชนให้ได้
        สื่อสารและรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน และตอบสนองความต้องการและให้


        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208