Page 201 - kpi20109
P. 201

200                                                                                                                                                       201


        ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ จำนวน 46 แห่ง นอกจากนี้ได้ร่วมมือกับภาคเอกชนในการศึกษา    เขียวชอุ่ม มีอากาศดีและบริสุทธิ์เหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจ โดยการปลูกไม้ยืนต้นเพื่อเพิ่ม
        การแปรรูปขยะมูลฝอยเป็นเชื้อเพลิง (Refuse Derived Fuel: RDF) เพื่อผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า  พื้นที่สีเขียวให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย
        ในอนาคต                                                                               รัฐบาลที่ได้ให้ความสำคัญกับการเพิ่มพื้นที่ป่าของประเทศและพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองให้ได้ร้อยละ
                                                                                              40 ภายใน 20 ปี และส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ให้ความร่วมมือ
                2.4 การติดตามและประเมินผล โดยติดตามประเมินผลรายไตรมาสและประจำปี
        มีการลงพื้นที่ติดตามผลการปฏิบัติงานของชุมชนและสถานศึกษาที่เข้ามาร่วมโครงการ รวมถึง     วางแผนการดำเนินการ ตลอดจนติดตามและประเมินผลการดำเนินกิจกรรม จึงเป็นที่มาของ
                                                                                              โครงการ “ประชารัฐร่วมใจปลูกต้นไม้ให้แผ่นดิน” สืบสานแนวพระราชดำริในหลวง รัชกาลที่ 9
        มีการตรวจสอบการปนเปื้อนน้ำชะขยะมูลฝอยบริเวณโดยรอบสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยอย่าง
        สม่ำเสมอ                                                                                    แนวทางแรก คือ เริ่มจากปลูกป่าในใจคน จะได้รู้จักรักหวงแหน

              จากการดำเนินงานที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน      แนวทางที่สอง คือ การปลูกป่าในบ้านและชุมชน เชื่อมโยงกับป่าใหญ่ เป็น Food Bank

        เทศบาลได้อบรมให้ความรู้การจัดการขยะต้นทางตามหลัก 3Rs กับชุมชน 9 ชุมชน และ             แหล่งอาหารให้คนบริโภคได้ โดยกระทรวงมหาดไทยประสานหน่วยงานในสังกัดจัดเตรียมต้นไม้
        สถานศึกษา 25 แห่ง มีผู้เข้าร่วมโครงการรวม 1,250 คน มีการลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน  เพื่อแจกให้หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนร่วมปลูกต้นไม้ใน
        ของชุมชนและสถานศึกษาเพื่อให้ข้อเสนอแนะการจัดการขยะ พร้อมกับรับฟังเสียงสะท้อนเพื่อนำ   พื้นที่ ภายใต้การกำกับดูแลของตนเองและดูแลรักษาให้เจริญเติบโต เพื่อเป็นพื้นที่สีเขียวในเมือง
        มาปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงาน ทั้งหมดนี้ก่อให้เกิดผลเชิงประจักษ์ คือ จากปี 2559 เทศบาล     และคืนความสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อไป โดยมีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
        มีปริมาณขยะประมาณ 80 ตัน/วัน และในปี 2560 ลดลงเหลือเพียง 76.5 ตัน/วัน ทำให้ประหยัด          1.  ร่วมคิดร่วมตัดสินใจ โดยเปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ
        ค่าเก็บขนและกำจัดขยะได้ถึงปีละ 574,000 บาท
                                                                                              เอกชน และประชาชน ให้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจผ่านเวทีต่างๆ เช่น สภากาแฟ
        โครงการร่วมมือร่วมใจสร้างยะลาเป็นนครแห่งสวน (Garden City)                             เทศบาลสัญจร เวทีประชาคม รวมไปถึงสภาประชาชน เพื่อให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญกับ

              เนื่องจากปัจจุบันมีการขยายตัวของบ้านเรือนประชาชนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้พื้นที่สีเขียว  การปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดอุณหภูมิ และดูแลรักษาอากาศบริสุทธิ์ รวมทั้งต้องการให้
        ตามธรรมชาติที่เคยมีในอดีตลดลง รวมถึงการเกิดวิกฤตในเชิงสังคมที่เป็นผลพวงมาจากสภาวะ     เมืองยะลากลับไปเหมือนในอดีตที่มีความร่มรื่น มีต้นไม้รอบเมือง และจัดประชุมวางแผนการ
        ทางเศรษฐกิจ และค่านิยมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป การใช้พลังงานสำหรับอำนวยความสะดวก     ดำเนินงานโดยให้ผู้แทนส่วนราชการ ชุมชน ประชาชน และบุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในการ
        สบายในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น เหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาประกอบกับอุณหภูมิโลกสูงขึ้น หรือที่  ปลูกต้นไม้ยืนต้น เข้าร่วมระดมความคิดเห็น กำหนดพื้นที่การปลูก และพันธุ์ไม้
        เรียกว่าสภาวะโลกร้อนและส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เทศบาลนครยะลา                2.  ร่วมปฏิบัติ โดยจัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ยืนต้นในวันสำคัญต่างๆ ซึ่งเทศบาลนครยะลา

        เล็งเห็นว่าปัญหานี้นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น จึงมีแนวคิดที่จะสร้างเมืองยะลาให้เป็น    ได้เตรียมพันธุ์ไม้สำหรับให้ประชาชน พนักงานเทศบาล หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนได้ร่วมปลูก
        นครแห่งสวน (Garden City) มุ่งเน้นการดูแลรักษาอากาศที่บริสุทธิ์ และรักษาอุณหภูมิให้มีความ  ในพื้นที่สวนสาธารณะ เช่น สวนมิ่งเมือง สวนศรีเมือง สวนขวัญเมือง บึงแบเมาะ รวมถึงภายใน
        เหมาะสม โดยตั้งเป้าหมายในการลดอุณหภูมิในเขตเทศบาลนครยะลาให้ต่ำลง 2 องศา และ           พื้นที่สำนักงานเทศบาลนครยะลาด้วย และจัดกิจกรรมสร้างจิตสำนึกการปลูกต้นไม้แก่เด็ก
        มีอุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของภาคใต้ โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน เพื่อ  ในสถานศึกษา โดยได้มอบกล้าไม้ให้เด็กๆ นำไปดูแลโดยจดบันทึกข้อมูลต้นไม้ที่ได้รับ การเจริญ
        สร้างจิตสำนึกรักหวงแหน และความรู้สึกเป็นเจ้าของถิ่นเกิด จึงได้จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่ม  เติบโตของต้นไม้ ชนิดพันธุ์ไม้ สถานที่ปลูกต้นไม้ และนำต้นไม้มาปลูกรวมกับครอบครัว
        พื้นที่สีเขียว และปรับสภาพแวดล้อมของเมืองยะลาให้มีความร่มรื่นและรายล้อมไปด้วยความ     โดยการปักป้ายชื่อเพื่อให้ครอบครัวได้กลับมาดูแล และดูการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ได้ปลูกไป

                                                                                              เป็นการสร้างจิตสำนักในการดูแลรักษาต้นไม้และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวอีกด้วย

        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206