Page 20 - kpi20852
P. 20
การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ
ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2551 – 2560 ซึ่งอยู่ที่ระดับร้อยละ 18.7 – 19.3 อย่างไรก็ตาม 40 – 43 ในช่วงสิบปีหลังสุด (ดูภาพที่ 1.3 ประกอบ) ทั้งนี้ ในช่วงสิ้นปี
ค่าสัดส่วนดังกล่าวยังถือว่าอยู่ในระดับที่ไม่สูงมากนักเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ย พ.ศ. 2561 ประเทศสิงคโปร์มีสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ที่ร้อยละ 112
ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 - 2550 ซึ่งอยู่ในระดับราวร้อยละ 25 และ เวียดนาม ร้อยละ 58 มาเลเซีย ร้อยละ 52 พม่า ร้อยละ 49 ฟิลิปปินส์
ยังอยู่ในระดับต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของสัดส่วนงบประมาณรายจ่ายลงทุนในช่วง ร้อยละ 42 และอินโดนีเซีย ร้อยละ 30
ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้งเป็นอย่างมาก (ดูภาพที่ 1.2 ด้านขวามือ อย่างไรก็ตาม หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรงมีอัตราการเติบโตที่สูงกว่า
ประกอบ) GDP ส่งผลให้สัดส่วนหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรงต่อ GDP ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น
ภาพที่ 1.2 โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายประจำปี อย่างต่อเนื่อง สัดส่วนหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรงต่อ GDP ปรับตัวขึ้นจากร้อยละ
พ.ศ. 2559 – 2562 เทียบกับโครงสร้างเฉลี่ยในอดีต 10.3 ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 มาสู่ร้อยละ 27.9 ณ สิ้นปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561 ทั้งนี้ องค์ประกอบที่ปรับตัวลดลงอย่างชัดเจนในหนี้สาธารณะ
คือ หนี้ที่รัฐบาลกู้เพื่อชดเชยความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ซึ่งมี
แหล่งเงินชำระหนี้จากบัญชีเงินสะสมเพื่อการชำระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ความ
เสียหายของกองทุนฯ (ดูภาพที่ 1.3 ประกอบ)
ภาพที่ 1.3 หนี้สาธารณะและสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ของไทย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 – 2561
ที่มา: งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2536 – 2562
การขาดดุลงบประมาณอย่างต่อเนื่องส่งผลให้หนี้สาธารณะของ
ประเทศปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP
ยังอยู่ในระดับที่ไม่น่าเป็นกังวลเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน
หนี้สาธารณะของประเทศไทยอยู่ที่ระดับ 6.8 ล้านล้านบาท ณ สิ้นปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561 โดยสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ทรงตัวอยู่ในระดับราวร้อยละ ที่มา: สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ และสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ
สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า