Page 41 - kpi20852
P. 41
การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ
ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ร้อยละ 3.77 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 โดยรายได้จากภาษีสรรพสามิต -87 -19 -67
รถยนต์จะมีสัดส่วนรายได้ต่อ GDP ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 0.78 2,830 3,385 -556 46.55 2,916 3,404 -488 49.66 18,817 -3.11
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มาเป็นร้อยละ 0.69 ในปีงบประมาณ เฉลี่ย 2564-65
พ.ศ. 2570 อันเป็นผลจากอัตราการเพิ่มขึ้นของความต้องการรถยนต์ที่ยังต่ำ
กว่าอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ สัดส่วนรายได้ของกรมสรรพสามิต
ต่อ GDP ที่เพิ่มขึ้นนั้นเป็นผลมาจากรายได้สรรพสามิตอื่น ๆ ที่จัดเก็บได้มี 2,886 3,470 -584 47.40 2,975 3,485 -509 50.42 19,249 -89 -15 -75 -3.02
แนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.45 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2565
มาเป็นร้อยละ 1.74 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 และรายได้สรรพสามิต
น้ำมันมีสัดส่วนรายได้ต่อ GDP เพิ่มขึ้นเล็กน้อย โดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.29
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นร้อยละ 1.32 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 แผนการคลังระยะปานกลาง 2,773 3,300 -527 45.70 2,857 3,324 -467 48.91 18,385 -84 -24 -60 -3.21
รายได้ของกรมศุลกากรจะมีสัดส่วนรายได้ต่อ GDP ที่ลดลงจาก 19
เดิม อันเป็นผลมาจากแนวโน้มการปรับลดอุปสรรคทางการค้าที่เป็นภาษี 2564
ตามข้อตกลงของประเทศไทยกับประเทศคู่ค้า ซึ่งมีผลทำให้ประมาณการ ตารางที่ 3.1 เปรียบเทียบประมาณการรายได้ รายจ่าย และดุลงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2565 (หน่วย: พันล้านบาท) ประมาณการโดยคณะผู้ศึกษา ความแตกต่างระหว่างเอกสารงบประมาณ/แผนการคลังระยะปานกลางและคณะผู้ศึกษา ประมาณการโดยคณะผู้ศึกษา สิงหาคม 2562 และวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (สิงหาคม 2562)
รายได้กรมศุลกากรต่อ GDP มีแนวโน้มลดลงจากระดับปัจจุบัน ตารางที่ 3.1 เปรียบเทียบประมาณการรายได้ รายจ่าย และดุลงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2565 (หน่วย: พันล้านบาท) -469 -454 -15 0 -15 -2.48 277
รายได้ของหน่วยงานอื่นจะมีสัดส่วนต่อ GDP ลดลงจากร้อยละ 2563 2,731 3,200 44.40 17,837 2,746 3,200 46.88 17,560 ที่มา: ประมาณการโดยคณะผู้ศึกษา สิงหาคม 2562 และวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (สิงหาคม 2562)
2.42 เหลือเพียงร้อยละ 1.93 ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2564
เนื่องจากรายได้จากการประมูลใบอนุญาตคลื่นความถี่โทรคมนาคม เอกสารงบประมาณ 0 0
700 MHz และ 900 MHz ที่เข้ามาจะทำให้สัดส่วนรายได้ของหน่วยงานอื่น 2,550 3,000 -450 44.30 17,020 2,583 3,000 -417 44.10 16,800 -33 -33 220
ต่อ GDP ปรับเพิ่มขึ้นมากในช่วงแรก สำหรับประมาณการภายหลัง 2562
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สัดส่วนรายได้ของหน่วยงานอื่นต่อ GDP จะมี
ค่าเฉลี่ยจะอยู่เพียงร้อยละ 2.08 เท่านั้น (ตารางที่ 3.3)
งบประมาณ หนี้สาธารณะคงค้าง/GDP (FY) Nominal GDP (FY) หนี้สาธารณะคงค้าง/GDP (FY) Nominal GDP (FY) หนี้สาธารณะคงค้าง/GDP (FY) Nominal GDP (FY)
รายได้ รายจ่าย ดุลงบประมาณ รายได้ รายจ่าย ดุลงบประมาณ รายได้ รายจ่าย ดุลงบประมาณ ที่มา:
สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า
0 1