Page 46 - kpi20852
P. 46
การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ
ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
3.2 การประมาณการรายจ่ายรัฐบาลระยะปานกลาง หลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นรายจ่ายรายการสำคัญ ซึ่งคาดว่าจะ
ประมาณการงบประมาณรายจ่ายของงานศึกษานี้ ได้กำหนด เพิ่มสูงขึ้นเป็น 381,627 ล้านบาท และ 227,943 ล้านบาท ในปีงบประมาณ
สมมติฐานที่คำนึงถึงความสมเหตุสมผลและลักษณะการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. 2570 ซึ่งปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 คาดว่าจะได้รับการจัดสรรเพียง
ในอดีต รวมถึงภาระทางการคลังที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งสมมุติฐานที่ใช้ประมาณ 211,355 และ 140,840 ล้านบาท (ตารางที่ 3.6) โดยเป็นผลจากการขาดดุล
การปรากฏดังตารางที่ 3.4 ผลประมาณการงบรายจ่ายของงานศึกษานี้ อย่างต่อเนื่องและการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ทั้งนี้ หากพิจารณาถึงสัดส่วน
ได้คาดการณ์ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2570 ซึ่งพบว่า งบชำระคืนต้นเงินกู้ต่องบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2563 ถึง
งบประมาณรายจ่ายจะเพิ่มสูงขึ้นจาก 3,200,000 ล้านบาท พ.ศ. 2570 พบว่ามีสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 2.66 ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบ พ.ร.บ.
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็น 3,324,005 ล้านบาท ในปีงบประมาณ วินัยการเงินการคลังที่คณะกรรมการฯ กำหนดไว้ที่ร้อยละ 2.5 - 3.5
พ.ศ. 2564 และเพิ่มขึ้นเป็น 4,301,780 ล้านบาท ในปีงบประมาณ สำหรับงบเงินอุดหนุนจะยังคงเป็นประเภทงบรายจ่ายที่ได้รับการ
พ.ศ. 2570 โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นตลอดช่วงเวลาประมาณการเฉลี่ยร้อยละ จัดสรรงบประมาณสนับสนุนในระดับสูง (สูงที่สุดในช่วงแรกจนถึง
4.32 ต่อปี อย่างไรก็ตาม ยังคงมีอัตราการขยายตัวต่ำกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567) โดยจะเพิ่มขึ้นจาก 954,324 ล้านบาท
ภายในประเทศ ณ ราคาปัจจุบัน จึงส่งผลให้สัดส่วนงบประมาณรายจ่ายต่อ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็น 1,055,829 ล้านบาท ในปีงบประมาณ
GDP ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 18.22 เหลือเพียงร้อยละ 17.76 ระหว่าง พ.ศ. 2567 และเพิ่มสูงขึ้นเป็น 1,142,332 ล้านบาท ในปีงบประมาณ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2570 (ตารางที่ 3.5) ทั้งนี้ หากเปรียบเทียบกับ พ.ศ. 2570 (ตารางที่ 3.5) แต่เมื่อพิจารณาสัดส่วนงบเงินอุดหนุนต่อ GDP
แผนการคลังระยะปานกลาง (ตารางที่ 3.1) จะพบว่าผลประมาณการของ พบว่า มีสัดส่วนลดลงเล็กน้อย จากร้อยละ 5.43 ในปีงบประมาณ
งานศึกษานี้สูงกว่าเฉลี่ยเพียงปีละ 86,513 ล้านบาท (ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นร้อยละ 5.25 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และลดลงเหลือ
พ.ศ. 2564-2565) ดังนั้น จึงมีความเป็นไปได้ที่รัฐบาลจะสามารถดำเนินงาน เพียงร้อยละ 4.72 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 ทั้งนี้ รายการรายจ่าย
ภายใต้กรอบวงเงินงบประมาณตามแผนการคลังระยะปานกลางดังกล่าว ที่สำคัญคือ งบประมาณเงินอุดหนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งจะเพิ่ม
เมื่อพิจารณาการจัดสรรงบประมาณจำแนกตามงบรายจ่ายพบว่า สูงขึ้นตามนโยบายการกระจายอำนาจแต่จะเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
งบรายจ่ายทุกประเภทจะปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยงบรายจ่ายอื่น ซึ่งคาดว่าจะต้องจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 ประมาณ 343,008
จะเป็นงบที่ได้รับงบประมาณสูงเป็นอันดับหนึ่ง โดยมีผลประมาณการ ล้านบาท จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 คาดว่าจะได้รับการจัดสรร
เพิ่มสูงขึ้นจาก 781,965 ล้านบาท ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็น 320,250 ล้านบาท (อัตราการขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 1) ส่วนเงินเบี้ยหวัด
858,713 ล้านบาท ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และเพิ่มสูงขึ้นเป็น บำเหน็จ บำนาญข้าราชการ และเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุจะมีแนวโน้มเพิ่ม
1,225,856 ล้านบาท ในปีงบประมาณ พ. ศ. 2570 (ตารางที่ 3.5) โดยมี สูงขึ้นจากภาวะสังคมสูงวัย ซึ่งคาดว่าจะต้องจัดสรรในปีงบประมาณ
อัตราการขยายตัวเฉลี่ยตลอดช่วงประมาณการร้อยละ 6.64 ต่อปี ทั้งนี้ พ.ศ. 2570 ประมาณ 259,873 ล้านบาท และ 94,261 ล้านบาท จาก
รายการรายจ่ายที่สำคัญคือ รายจ่ายดอกเบี้ย และรายจ่ายกองทุน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 คาดว่าได้รับการจัดสรรเพียง 226,715 ล้านบาท
สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า
5