Page 23 - kpi20858
P. 23

10






                                  1.5.3.4 เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการสัมภาษณ์   คือ   ภาพผลงานศิลปะและข้อมูล
                                         เบื้องต้น  เครื่องบันทึกเสียงแบบพกพา  ปากกา  กล้องถ่ายภาพ  และสมุด

                                         บันทึก

                              1.5.4 วิธีกำรเข้ำถึงข้อมูลและกำรเก็บรวบรวมข้อมูล


                              การศึกษาครั้งนี้ได้แบ่งการเข้าถึงข้อมูลและการรวบรวมข้อมูลเป็น  2  ส่วน  คือ  การเก็บ

                       รวบรวมข้อมูลด้านเอกสาร (Review Data) และการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม (Field Data)
                                     1.5.4.1  การเก็บรวบรวมข้อมูลด้านเอกสาร  (Review  Data)  ทั้งข้อมูลปฐมภูมิ

                              (Primary Data) และข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยศึกษาจากจดหมายเหตุ ต ารา

                              เอกสาร บทความ สูจิบัตร ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการวิจัย

                                     1.5.4.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม (Field Data) เป็นการลงพื้นที่เพื่อส ารวจ
                              ผลงานจิตรกรรมและประติมากรรมตามสถานที่ซึ่งติดตั้งผลงาน  ตลอดจนการลงพื้นที่

                              สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมีกระบวนการดังนี้

                                     1.5.4.3 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญแบบเจาะลึก ทั้งนี้

                              ก่อนเริ่มสัมภาษณ์ผู้วิจัยได้แสดงวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ และขออนุญาตในการจด

                              บันทึก ตลอดจนการขออนุญาตบันทึกเสียงระหว่างการให้สัมภาษณ์ โดยจะใช้เวลาในการ
                              สัมภาษณ์ประมาณ 60-120 นาที ต่อผู้ให้ข้อมูลหนึ่งท่าน จะท าการสัมภาษณ์จนกว่าจะไม่

                              พบข้อสงสัย หรือไม่มีข้อมูลใหม่เกิดขึ้น เรียกว่าข้อมูลอิ่มตัว (Data Saturation) จึงหยุดการ

                              สัมภาษณ์

                                     1.5.4.4 ขณะสัมภาษณ์ผู้วิจัยจะใช้การจดบันทึกสรุป เฉพาะประเด็นที่ส าคัญ
                                     1.5.4.5  ข้อมูลจะถูกบันทึกและถอดเทปรายวัน เพื่อท าการตรวจสอบข้อมูล  หาก

                              ไม่ชัดเจนหรือไม่ครบถ้วน จะน าไปสัมภาษณ์ในครั้งต่อไป


                              1.5.5 กำรจัดท ำข้อมูลและกำรวิเครำะห์ผล


                              งานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ  ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกใช้วิธีการวิเคราะห์ผล
                       ด้วยการอรรถาธิบาย และพรรณนาความ อาศัยข้อมูลทั้งด้านเอกสาร อันได้แก่ ทฤษฎีและงานวิจัย

                       ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อมูลที่ได้จากภาคสนาม หรือการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริง

                       ที่สามารถน าไปใช้ในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลได้
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28