Page 94 - 22373_Fulltext
P. 94

งบประมาณรวม 161 ล้านบาท โดยยุทธศาสตร์ที่มีสัดส่วนโครงการมากที่สุด ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 มีจ านวน
              52 โครงการ (48.6%) รองลงมา คือ ยุทธศาสตร์ที่ 7 มีจ านวนโครงการ 26 โครงการ (24.3%) และยุทธศาสตร์

              ที่ 6 มีจ านวน 17 โครงการ (15.9%) และเมื่อพิจารณาจากสัดส่วนงบประมาณพบว่า ยุทธศาสตร์ที่ได้รับ
              งบประมาณมากที่สุด ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 จ านวน 113 ล้านบาท (70.2%) รองลงมาคือ ยุทธศาสตร์ที่ 7
              จ านวน 13 ล้านบาท (8.4%) (เทศบาลเมืองนราธิวาส, 2561)


                      2.8.2 บริบทเชิงพื นที่

                        1) ลักษณะทางกายภาพ เทศบาลเมืองนราธิวาส สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มริมฝั่ง

              แม่น้ า มีแม่น้ าบางนราเป็นแม่น้ าสายหลัก  นอกจากนี้ยังมีคลองยะกัง และมีบางส่วนติดทะเลด้านอ่าวไทย
              (เทศบาลเมืองนราธิวาส, 2561)

                        2) ประชากร  ในปี 2563 เทศบาลเมืองนราธิวาส  มีประชากรรวมทั้งสิ้น 41,448 คน ส่วนใหญ่

              เป็นเพศหญิง จ านวน 20,998 คน (50.7%)  ขณะที่เพศชาย  มีจ านวน 20,450 คน (49.3%) (เทศบาลเมือง
              นราธิวาส, 2561)

                        3) สังคมและเศรษฐกิจ  ภายในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาสมีลักษณะแบบพหุวัฒนธรรม เป็นการ

              อยู่รวมกันของชุมชนชาวไทย-พุทธ และไทย-มุสลิม ซึ่งทั้งสองกลุ่มนี้จะมีวัฒนธรรมและภาษาพูดที่แตกต่างกัน
              อย่างชาวไทย-มุสลิม ส่วนมากจะมีเชื้อสายมลายูมักจะพูดภาษามลายู อยู่รวมกันเป็นกลุ่มไม่ปะปนอยู่ร่วมกับ
                  การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
              คนต่างศาสนา ประกอบอาชีพด้วยกันในชุมชนเดียวกัน ส่วนน้อยที่ปะปนกัน การนับถือศาสนาต่างคนต่าง
              ปฏิบัติศาสนกิจของตนไปไม่เบียดเบียนกัน อยู่ด้วยกันโดยสันติ ปัจจุบันผู้ที่พูดภาษามลายูถิ่นและภาษาไทยได้

              เป็นส่วนใหญ่ ส าหรับชาวพุทธที่พูดภาษาไทย ก็สามารถพูดภาษามลายูถิ่นได้ รูปแบบของชุมชนมักเกิดขึ้นโดย
              ถือศาสนาสถานเป็นจุดศูนย์กลาง เช่น วัด มัสยิด หรือสุเหร่า เพราะต้องอาศัยคนที่รวมกันเข้าเป็นชุมชนที่

              สนับสนุนค้ าจุนกัน (กระทรวงวัฒนธรรม, มปป.)

                        ในส่วนของสภาพเศรษฐกิจ จากเหตุการณ์ไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลให้
              สภาพเศรษฐกิจภายในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาสค่อนข้างซบเซา ในด้านการท่องเที่ยวมีจ านวนนักท่องเที่ยว

              ค่อนข้างน้อย ส่วนมากจะเป็นนักท่องเที่ยวต่างชาติจากตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย โดยนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้

              มักมาท่องเที่ยวเกี่ยวกับความบันเทิงและเข้ามาบริโภคและซื้อสินค้าต่าง ๆ โดยเฉพาะในเขตอ าเภอสุไหงโกลก
              นอกจากด้านการท่องเที่ยวแล้ว ในการประกอบอาชีพของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส จ านวนหนึ่ง
              ประกอบอาชีพประมง เนื่องจากพื้นที่ของเทศบาลติดอยู่กับปากแม่น้ าบางนรา โดยมากกลุ่มอาชีพประมง

              มักไม่ได้ประกอบอาชีพเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ แต่จะท าในระดับครัวเรือน  นอกจากนี้ยังมีการประกอบ

              ธุรกิจส่วนตัว อาชีพค้าขาย ซึ่งจะอยู่ตามเขตเศรษฐกิจของเมือง อย่างถนนภูผาภักดี ถนนพิชิตบ ารุง ถนน
              นราธิวาสตากใบ ถนนระแงะมรรคา ถนนสุริยะประดิษฐ์ ถนนเลี่ยงเมือง เป็นต้น ธุรกิจส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจ
              ขนาดกลางและขนาดย่อย (เทศบาลเมืองนราธิวาส, 2564)


                        4) วัฒนธรรม ในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็น
              ร้อยละ 65 และเป็นกลุ่มประชากร มีเอกลักษณ์อันโดดเด่นทางภาษา ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น

              ในส่วนที่เหลือ นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 34 และอื่น ๆ ร้อยละ 1 ส าหรับประเพณีและการประพฤติปฏิบัติ




      70      วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99