Page 89 - 22373_Fulltext
P. 89

ในส่วนของฐานะการเงิน ในด้านรายรับ ในปีงบประมาณ 2564 เทศบาลเมืองล าพูน มีรายรับจริง
                จ านวน 201.075 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่ได้จากหมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 128.933 ล้านบาท รองลงมาคือ หมวด

                ภาษีจัดสรร จ านวน 53.366 ล้านบาท ในส่วนของรายจ่ายจริงมีจ านวน 164.980 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็น
                รายจ่ายในส่วนของงบบุคลากร จ านวน 76.357ล้านบาท รองลงมา ได้แก่ รายจ่ายในส่วนของงบด าเนินการ
                จ านวน 58.260 ล้านบาท (เทศบาลเมืองล าพูน, 2563)


                        2.7.2 บริบทเชิงพื นที่

                          1) ลักษณะทางกายภาพ  เทศบาลเมืองล าพูนตั้งอยู่บนที่ราบน้ าท่วมถึง ริมฝั่งด้านตะวันตกของ

                แม่น้ ากวง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแอ่งที่ราบเชียงใหม่-ล าพูน มีระดับความสูงจากระดับน้ าทะเลปานกลาง 292-
                295 เมตร บริเวณพื้นที่ที่เป็นที่ตั้งของชุมชนภายในก าแพงเมืองจะมีระดับสูงกว่าพื้นที่โดยรอบ และจะมีพื้นที่
                ลุ่มอยู่โดยรอบทั้งทางด้านตะวันตก และทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ ทางใต้ และทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ

                ของเทศบาล ซึ่งจะมีระดับต่ ากว่าระดับแนวถนนมาก โดยเฉพาะพื้นที่ตะวันออกของเทศบาล จะเป็นแอ่งที่ต่ า
                ที่มีขอบสูงโดยรอบ เป็นแนวขวางกั้นการระบายน้ าลงสู่แม่น้ ากวง (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, มปป.)


                          2) ประชากร  ในปี 2562 เทศบาลเมืองล าพูน มีประชากรรวมทั้งสิ้น 12,019 ส่วนใหญ่เป็นเพศ
                หญิง จ านวน 6,511 คน (54.17%) ขณะที่เพศชาย มีจ านวน 5,508 คน (45.83%) โดยมีครัวเรือนจ านวน

                ทั้งสิ้น 7,123 ครัวเรือน (เทศบาลเมืองล าพูน, 2562)

                          3) สังคมและเศรษฐกิจ สภาพสังคม เทศบาลเมืองล าพูน แต่เดิมเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางของ
                อาณาจักรหริภุญชัย จะสังเกตเห็นว่าภายในเขตเทศบาล และบริเวณใกล้เคียงจะพบโบราณสถาน นอกจากนี้

                ภายในเขตเทศบาล และบริเวณใกล้เคียงจะพบชุมชนพื้นเมืองรวมไปถึงกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่ได้อพยพมาอยู่มา
                ตั้งแต่โบราณ เนื่องจากบริเวณเทศบาลเมืองล าพูนตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มริมน้ ากวง โดยกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีอยู่

                มากที่สุด คือ กลุ่มชาวไทยอง หรือชาวไทลื้อที่แต่เดิมอาศัยอยู่เมืองยองซึ่งอพยพมาตั้งแต่สมัยพระเจ้ากาวิละ
                แห่งล้านนา (พ.ศ.2324-2358) (แสวง มาละแซม, 2538) มีการตั้งชุมชนเป็นแนวยาวขนานไปกับแม่น้ ากวง

                ในแนวทิศเหนือ-ใต้ นอกจากนี้ในด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเขตเทศบาลเมืองล าพูน มีการตั้งนิคม
                อุตสาหกรรมล าพูน ท าให้มีการย้ายถิ่นฐานเข้ามาของแรงงานต่างถิ่นอาศัยบริเวณโดยรอบของนิคมอุตสาหกรรม

                (วีรพล เชาวลักษณ์, 2531)

                          สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลเมืองล าพูน ประกอบอาชีพรับจ้าง รองลงมา                     การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
                เป็นเจ้าของกิจการ และรับราชการตามล าดับ โดยอาชีพรับจ้างมีทั้งรับจ้างทางการเกษตร รับข้างขนของ

                รับจ้างค้าขาย ซึ่งได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน การรับจ้างธุรกิจของเอกชนและหน่วยงานรัฐบาลที่รับค่าจ้างเป็นราย

                เดือน(เกรียงไกร กาญจนคูหา, 2553)  โดยเมืองล าพูนมีย่านพาณิชยกรรมที่ส าคัญตั้งอยู่บริเวณสองฝั่งถนน
                เจริญราษฎร์ และถนนอินทยงยศ นอกจากนี้ภายในเขตเทศบาลยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่ส าคัญทางประวัติศาสตร์
                ตั้งอยู่ ได้แก่ วัดจามเทวี วัดพระธาตุหริภุญชัย กู่ช้าง กู่ม้า พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติหริภุญไชย (ล าพูน) และ

                อนุสาวรีย์พระนางจามเทวี (เทศบาลเมืองล าพูน, 2562)

                          4) วัฒนธรรม  ศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลเมืองล าพูนนับถือศาสนาพุทธ  รองลงมา

                คือศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามตามล าดับ ส่วนประเพณีวัฒนธรรม ชาวเมืองล าพูนมีประเพณีที่สืบทอด




                                                               วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า   65
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94