Page 490 - kpiebook65064
P. 490

440           โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ
                           เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา




                         2. ระบบธรรมาภิบาลยา (Good Pharmaceutical Governance System) คือ ระบบ

                            อภิบาลยาที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งหมายถึงระบบการบริหารจัดการ การ
                            ควบคุม และการกำกับดูแลที่เกี่ยวข้องกับยาของภาครัฐที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

                            5 ด้าน คือ 1) นิติรัฐ (Rule of Law) 2) ความโปร่งใส (Transparency) 3) ความพร้อม
                            รับผิดชอบ (Accountability) 4) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และ 5) การมีส่วนร่วม
                            (Participation) (โปรดดูใน กรอบแนวคิดการศึกษาธรรมาภิบาลในระบบอภิบาลยา และ

                            ดูคำนิยามเพิ่มเติมของหลักธรรมาภิบาลในคุณลักษณะของระบบธรรมาภิบาล)

                         3. ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลยา (Good Pharmaceutical Governance Risks)
                            คือ ความเสี่ยงที่สามารถเกิดขึ้นในระบบอภิบาลยาที่ส่งผลให้ระบบขาดความเป็น

                            ธรรมาภิบาล ในขั้นตอนการขึ้นทะเบียนยา การคัดเลือกยา และการจัดซื้อ

                   กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา


                         1. กรอบแนวคิดการศึกษาระบบธรรมาภิบาลยา จำเป็นต้องพิจารณาเรื่องส่งเสริมการขาย
                กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา
                            และระบบการตรวจการ (ดูในวงไข่ปลา) เพื่อสอดรับกับการอธิบายระบบธรรมาภิบาลยา สอด
                        1.  กรอบแนวคิดการศึกษาระบบธรรมาภิบาลยา จ าเป็นต้องพิจารณาเรื่องส่งเสริมการขายและระบบการตรวจการ (ดูในวงไข่ปลา) เพื่อ
                          รับกับการอธิบายระบบธรรมาภิบาลยา


                                   นิติรัฐ           ความโปร่งใส
                                (Rule of Law)       (Transparency)


                                          ระบบอภิบาลยา

                                        1. การขึ้นทะเบียนต ารับ                             เป้าหมายปลายทางของ
                                         ยา (Registration)                                   ระบบธรรมาภิบาลยา
                                                                                           1.  คุณภาพยาที่เพียงพอและ
                                                                                             ครอบคลุมต่อการรักษา
                                  3.การจัดซื้อ     2. การคัดเลือกยา
                                 (Procurement)       (Selection)                           2.  ความคุ้มค่าในงบประมาณ
                                                                                             ภาครัฐ
                                                                                           3.  การปลอดจากทุจริต
                                5. ระบบการส่งเสริมการขายของ
                                 ภาคเอกชน (Promotion)   4. ระบบการตรวจการ
                                                    (Inspection)
                   ผู้เชี่ยวชาญ

                   ประชาชน

                      การมีส่วนร่วม      ความมีประสิทธิภาพ   ความพร้อมรับผิดชอบ
                     (Participation)       (Efficiency)      (Accountability)













                   ภาคผนวก
                   สถาบันพระปกเกล้า
   485   486   487   488   489   490   491   492   493   494   495