Page 70 - innovation6402
P. 70

70                                                                                    นวัตกรรมประชาธิปไตยศึกษา ปีที่ 2      เล่มที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2563)  71 71





        ไม่แปลกใจว่�ทำ�ไมอ�จ�รย์หล�ยคนที่จบนอก โดยเฉพ�ะฝรั่งเศส ถึงได้                      อย่�งไรก็ดี ไม่ว่�อุดมก�รณ์จะไทยหรือตะวันตกม�กกว่�กัน
        เลือกมองทักษิณว่�เป็นผู้ปลดแอก สม�ชิกของคณะนิติร�ษฎร์เองก็                 สิ่งสำ�คัญคือ มันสะท้อนสิ่งที่ตนต้องก�รสม�ท�นจริง ๆ หรือไม่ ต่�งฝ่�ย

        ถอดแบบหลักกฎหม�ยและรัฐธรรมนูญม�จ�กฝรั่งเศสและเยอรมัน                       ต้องถ�มตัวเองให้ดีว่�พึงพอใจกับจุดยืน ณ ขณะนี้หรือไม่ มันช่วยต่อเติม
        นอกจ�กนั้น ประช�นิยมแบบทักษิณก็มีนัยของคว�มเป็นซ้�ย แต่ก่อนอื่น            หรือลดทอนอุดมก�รณ์ที่ตนสม�ท�นอย่�งไร ถ้�รู้สึกว่�ต้องทำ�อะไร
        วิธีคิดของนักก�รเมืองที่เป็นประช�นิยมคือ ต้องอ�ศัยแนวคิดที่ให้             ควรโฟกัสไปตรงไหนเพร�ะอะไรเป็นพิเศษ

        คว�มชอบธรรมกับเสียงของ “ประช�ชน” (People) เหนือพลังของเสียง
        ของอีลีท เหนือสิทธิส่วนบุคคล ซึ่งถูกมองว่�เป็นเสรีภ�พแบบกลวง ๆ

        ซึ่งโวห�รแบบนี้เป็นโวห�รที่เห็นในเกือบทุกประเทศบนโลกอย่�งที่ใน
        ยุคปัจจุบันมีคนอย่�งดูเตอร์เต หรือทรัมป์ แต่ทักษิณก็ไม่เหมือนกับ                                                         บันทึกและสรุป
        สองคนนี้ตรงที่ว่�ประช�นิยมของทักษิณมันมีคว�มใกล้เคียงกับรัฐสวัสดิก�ร                                                    ศิปภน อรรคศรี

        ม�กกว่�เยอะ เพร�ะเข�ต้องก�รที่จะเพิ่มอำ�น�จก�รต่อรองท�งเศรษฐกิจ                                                        ธีทัต จันทร�พิชิต
        และสังคมให้กับร�กหญ้� เข�รู้สึกว่�ร�กหญ้�ทำ�ให้เข�ชนะได้ โดยถึง

        รัฐสวัสดิก�รแบบทักษิณจะไม่ใช่รัฐสวัสดิก�รแบบเต็มตัว แต่ก็มีผลที่
        ค่อนข้�งจะสำ�เร็จแบบรัฐสวัสดิก�รอย่�งเรื่องก�รให้ก�รศึกษ�ฟรี หรือ
        ส�มสิบบ�ทรักษ�ทุกโรค ทักษิณก็เลยเป็นประช�นิยมแบบฝ่�ยซ้�ย

        ไม่ใช่ประช�นิยมแบบฝ่�ยขว�ที่เน้นก�รเพิ่มอำ�น�จให้ชนชั้นนำ�ผ่�น
        ก�รข�ยฝันให้กับมวลชนระดับล่�ง ประช�นิยมของทักษิณมันให้ประโยชน์

        กับชนชั้นล่�งจริง ๆ ทักษิณเลยเป็นซ้�ยที่มีกลิ่นอ�ยแบบรัฐสวัสดิก�ร
        แต่ไม่ได้มีคว�มเป็นรัฐสวัสดิก�รหรือสังคมประช�ธิปไตยที่เป็นเสรีนิยม
        แบบสแกนดิเนเวีย
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75