Page 178 - kpi17733
P. 178

1 6                                                                        1


 เทศบาลนครยะลา มีรูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพโดยมีเป้าหมาย  จากการจัดเวทีพูดคุยกับประชาชน ภาคเอกชน และหน่วยงานราชการที่เห็น
 เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ท่ามกลาง  พ้องกันว่าต้องการให้ยะลามีสภาพที่เป็นระเบียบ สะอาดและร่มรื่นเช่นในอดีต รวมถึง

 สถานการณ์ความไม่สงบที่ยังมีอยู่ในพื้นที่ ทำให้ผู้บริหารและบุคลากรของเทศบาลวาง  แนวทางของการฟื้นคืนสภาพเมืองยะลาในอดีตให้กลับมามีความเรียบร้อย เทศบาล
 แนวทางการทำงานที่ยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนให้เข้าสถานการณ์ในพื้นที่อยู่เสมอ   
  นครยะลาจึงกำหนดเป้าหมายของการดำเนินการไว้ครอบคลุมด้านต่างๆ คือ การจัด
 โดยเฉพาะการสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการทำให้ยะลาเป็นเมืองที่น่าอยู่ ด้วยคำขวัญว่า   ระเบียบทางเท้าและพื้นที่สาธารณะ การจัดระเบียบการติดตั้งป้ายโฆษณา
 “สร้างเมืองให้น่าอยู่ สร้างความรู้สู่ชุมชน สร้างสังคมให้โปร่งใส สร้างสานสายใจ  ประชาสัมพันธ์ทั่วเขตเทศบาล การจัดระเบียบรถเข็น รถพ่วงข้าง แผงลอย และการ
 ร่วมพัฒนา นครยะลาสู่สากล” 
  จัดระเบียบการก่อสร้างรุกล้ำที่สาธารณะ


 การทำงานด้วยแนวทางดังกล่าว ทำให้เทศบาลนครยะลาเล็งเห็นความจำเป็น  
  ภาคีเครือข่ายที่เข้ามาร่วมทำงานในโครงการดังกล่าวกับเทศบาลนครยะลา
 ที่จะต้องสร้างเครือข่ายในรูปของความร่วมมือพัฒนาเมือง โดยเป็นการดึงเอาภาคส่วน  สามารถจำแนกได้ดังนี้
 ต่างๆ มาร่วมเป็นพันธมิตรในการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค  
  ๏ ส่วนราชการในจังหวัดยะลา โดยทำหน้าที่รณรงค์เพื่อสนับสนุน
 ประชาชนและประชาสังคม ทั้งในและนอกพื้นที่เพื่อเชื่อมโยงการทำงานแต่ละด้าน
 ร่วมกัน ผลที่ได้จากการทำงานในรูปของเครือข่ายนี่เอง ทำให้ลดความขัดแย้งเชิง  การดำเนินโครงการคืนยะลาให้คนยะลา

 ความคิด และสามารถสร้างบรรยากาศของการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม  
  
  ๏ หน่วยงานทหารและตำรวจ รับผิดชอบเรื่องการจัดระเบียบพื้นที่สาธารณะ
 ได้อย่างดี        และใช้กฎหมายเพื่อให้ประชาชนเข้าใจการทำงานจัดระเบียบซึ่งเชื่อมโยง
                   กับความมั่นคงในพื้นที่
 สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ
 เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลนครยะลา ได้แก่   
  ๏ องค์การโทรศัพท์ มีหน้าที่ในการจัดระเบียบตู้โทรศัพท์ซึ่งมีป้ายโฆษณา
                   ติดตามตู้จนดูรกตา

 โครงการคืนยะลาให้คนยะลา   
  ๏ การไฟฟ้า รับผิดชอบการจัดระเบียบตามภารกิจของตนเอง


 เมืองยะลาในอดีตเคยได้รับการยอมรับในฐานะที่เป็นพื้นที่ที่มีผังเมืองเป็น  
  ๏ องค์กรเอกชน ประกอบไปด้วย ห้าง ร้าน หาบเร่ และแผงลอย ที่เข้ามา
 ระเบียบ ประกอบกับเมืองที่สวยงาม แวดล้อมด้วยธรรมชาติ ผู้คนหลากวัฒนธรรม  เกี่ยวข้องกับการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ข่าวสารระหว่างผู้ค้าด้วยกันเอง
 สามารถอยู่ร่วมกันได้ด้วยความสงบ โดยเคยได้รับรางวัลเกี่ยวกับการรักษาความ  และการจัดระเบียบพื้นที่ตนเองและข้างเคียง รวมถึงการสร้างจิตสำนึก
 สะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองเป็นเวลา 3 ปีต่อเนื่อง  สาธารณะและรับผิดชอบระหว่างผู้ค้าและผู้ประกอบการด้วยกันเอง
 ระหว่างพ.ศ.2528-2530 แต่ความเจริญและการขยายตัวของเมืองอันเป็นผล  
  รวมถึงการติดตามและประเมินผลจากกิจกรรมที่กลุ่มทำ
 สืบเนื่องมาจากการพัฒนา ทำให้หลายพื้นที่ในเขตเทศบาลนครยะลาถูกรุกล้ำจาก
 สิ่งก่อสร้างของบ้านเรือน ร้านค้า รวมถึงการติดตั้งป้ายโฆษณาตามที่สาธารณะจนดู  
  ๏ สื่อในพื้นที่ ทั้งวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ หอกระจายข่าวภายในแต่ละชุมชน โดยทำ

 ไม่งามตา จนส่งผลต่อความเข้าใจและสำนึกสาธารณะของประชาชนที่มีต่อการรักษา  หน้าที่เป็นสื่อกลางประชาสัมพันธ์ รายงานผลให้แก่ประชาชนทราบถึงการ
 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง   จัดระเบียบของโครงการ และให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดระเบียบเมือง

 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183