Page 267 - kpi20109
P. 267

266                                                                                                                                                       26


        ส่วนร่วมและช่วยกันคิดทำงานเพื่อชุมชนตำบลนาพันสาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรม                   ที่ประชุมสภากาแฟได้ร่วมกันวางแผนการบริหารงานประเพณีตักบาตรพระบนหลังเกวียน
        หรือโครงการที่เกิดขึ้นและสร้างสรรค์เน้นไปที่วิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของชุมชน     ดังนี้
        กล่าวได้ว่า นี่คือความโดดเด่นของการมีส่วนร่วมและความโปร่งใสได้อย่างชัดเจน จนทำให้องค์การ    1.  ประชุมปรึกษาหารือสภากาแฟเรื่องการฟื้นฟูประเพณีตักบาตรพระบนหลังเกวียน
        บริหารส่วนตำบลนาพันสามได้รับโล่รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น   โดยที่ประชุมมีมติร่วมกันเมื่อวันที่ 12  มิถุนายน 2559 เห็นชอบให้ชุมชนตำบลนาพันสามมี

        ประจำปี 2561 ด้านส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
                                                                                              กิจกรรมดังกล่าวเพราะประเพณีนี้เป็นประเพณีโบราณที่ยังมีชีวิตอยู่แห่งเดียวในจังหวัดเพชรบุรี
              สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านความโปร่งใสและ      และในประเทศ
        ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ขององค์การบริหารส่วนตำบลนาพันสาม ได้แก่
                                                                                                    2.  ที่ประชุมมีการแบ่งงานเพื่อหาเจ้าภาพรับผิดชอบในแต่ละด้าน ได้แก่
        โครงการงานบุญใหญ่เข้าพรรษา (ตักบาตรพระบนหลังเกวียน)                                             -  ชุมชนทุกชุมชนนาพันสามเป็นเจ้าภาพหลักในการดำเนินงานบุญใหญ่เข้าพรรษา

                                                                                                         ตักบาตรพระบนหลังเกวียน โดยจัดการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ทุกช่องทาง
              จุดเริ่มต้นของโครงการเกิดขึ้นจากความคิดเห็นและมติร่วมกันของสภากาแฟตำบล
        นาพันสามได้เสวนาถึงปัญหาเรื่องประเพณีตักบาตรพระบนหลังเกวียนว่าเยาวชนและคนในพื้นที่               การสื่อสารทั้งภายในและภายนอกชุมชนถึงกำหนดการ สถานที่ การลงมือร่วมกัน

        ไม่ให้ความสนใจและความสำคัญในงานเก่าแก่ของชุมชน รวมทั้งต้องการอนุรักษ์ประเพณีเก่าแก่              ในการจัดงาน การช่วยกันรักษาความสะอาดภายในสถานที่จัดงาน และรายงาน
        คือ ประเพณีตักบาตรพระบนหลังเกวียนของชุมชนให้คงอยู่ไว้เป็นอัตลักษณณ์ที่สำคัญของตำบล               ผลการปฏิบัติงานเมื่อจัดงานเสร็จสิ้นลงแล้ว
        นาพันสาม เพราะในอดีตทุกหลังคาเรือนของตำบลจะมีเกวียนเป็นพาหนะใช้งาน แต่ปัจจุบันเกวียน            -  วัดนาพรมรับผิดชอบเรื่องสถานที่ พิธีสงฆ์ การดูแลต้อนรับนักท่องเที่ยว
        เริ่มหายไปจากชุมชนและผุพังตามกาลเวลา หากกล่าวย้อนไปถึงอดีตจะพบว่าประเพณีดังกล่าว                 การอำนวยความสะดวกในเรื่องสถานที่จอดรถ ห้องน้ำ ศาลาที่พัก อาหาร น้ำดื่ม
        มีอายุกว่าร้อยปีในสมัยหลวงปู่เอี่ยม อดีตเจ้าอาวาสวัดนาพรมซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 4 งานบุญ       -  องค์การบริหารส่วนตำบลนาพันสามรับผิดชอบ เรื่องการบริหารจัดการภาพรวม

        ใหญ่เข้าพรรษาตักบาตรพระบนหลังเกวียน จะจัดในวันอาสาฬหบูชาก่อนวันเข้าพรรษา 1 วัน                   ของงานบุญใหญ่เข้าพรรษาตักบาตรพระบนหลังเกวียน การประสานข้อมูล
        ชุมชนตำบลนาพันสามเคารพและให้ความสำคัญแก่ประเพณีดังกล่าวว่าเป็นประเพณีที่ศักดิ์สิทธิ์             การแสดง การเตรียมการระหว่างชุมชนกับหน่วยงานภายนอกพื้นที่ในการดึงดูด
        และต้องการอนุรักษ์ประเพณีดีงามนี้ไว้ให้คงอยู่ต่อไป และหากใครได้มาร่วมตักบาตรจะได้                นักท่องเที่ยวเข้ามาทำข่าวประชาสัมพันธ์ การสนับสนุนของบประมาณจาก
        อานิสงส์บุญอันยิ่งใหญ่ และถือว่าเป็นประเพณีแห่งเดียวที่เกิดขึ้นในประเทศไทยที่ยังเหลืออยู่        หน่วยงานอื่นเพื่อดำเนินกิจกรรม การประชาสัมพันธ์กิจกรรมแก่นักข่าวท้องถิ่น
                                                                                                         และนักข่าวภายนอกพื้นที่เพื่อส่งเสริมงานบุญใหญ่เข้าพรรษาตักบาตรพระบนหลัง
              จากมติของที่ประชุมสภากาแฟจึงให้มีการฟื้นฟูงานบุญใหญ่เข้าพรรษาตักบาตรพระ                    เกวียนและสร้างอัตลักษณ์ให้กลายเป็นจุดขายของชุมชน

        บนหลังเกวียน ขึ้นมาอีกครั้ง และให้จัดฟื้นฟูขึ้นเป็นครั้งแรกในวันที่ 20 กรกฎาคม 2559             -  ชุมชนรับผิดชอบการจัดหาเกวียน ดอกไม้ประดับตกแต่ง อุปกรณ์ที่ประดับในงาน
        มีชาวชุมชนตำบลนาพันสามเป็นเจ้าภาพหลักในการดำเนินงานและกำหนดให้องค์การบริหาร                      ประเพณีการตักบาตร และนางเทียน
        ส่วนตำบลนาพันสามเป็นผู้ประสานงานและเป็นศูนย์กลางให้ทุกคนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการฟื้นฟู          -  โรงเรียนในเขตพื้นที่และกลุ่มเยาวชนจัดการแสดงในชุดประเพณีและขบวนนางรำ
        ประเพณีงานบุญใหญ่เข้าพรรษาตักบาตรพระบนหลังเกวียน วิธีการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้าง                 โบราณของเมืองเพชรบุรีเพื่อนำมาแสดงให้นักท่องเที่ยวได้ชม
        ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมที่โดดเด่น คือ การใช้สภากาแฟเป็นหน่วยงานหลักในการคิด                 -  สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบุรีเป็นผู้ประสานงานและให้ข้อมูลเรื่องลำดับ
        สร้าง ลงมือดำเนินการและกำหนดให้มีผู้แทนจากวัด คือ เจ้าอาวาสเป็นประธานที่ประชุม เพราะ             การดำเนินงาน และเก็บข้อมูลจำนวนนักท่องเที่ยวในระดับจังหวัด
        เป็นผู้แทนที่ชุมชนศรัทธาและเชื่อมั่นหากมีโครงการหรือกิจกรรมสำคัญขนาดใหญ่ในพื้นที่


        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   262   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272