Page 269 - kpi20109
P. 269

26                                                                                                                                                        26


               ทั้งนี้ งบประมาณที่ใช้ในโครงการดังกล่าวได้มาจากการเสียสละและการบริจาคของชุมชน  พอเพียง อาทิเช่น โรงเรียนในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เกษตรอำเภอ พัฒนาชุมชน
        ร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนให้กิจกรรมตักบาตรพระบนหลังเกวียนเกิดขึ้น และทางชุมชนจะเป็น      อำเภอ กลุ่มองค์กรภาครัฐและเอกชนและกลุ่มจิตอาสาในชุมชน
        ผู้รวบรวมการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ในการดำเนินงาน และได้รับการสนับสนุนเงินงบประมาณ            อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2558 สภากาแฟดำเนินการติดตามและตรวจสอบการทำงานและ
        เพิ่มเติมมาร่วมจัดงานจากวัด โรงเรียน หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ งบขององค์การบริหารส่วนตำบล  การพัฒนาของศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบปัญหาสำคัญ คือ ชุมชน

        นาพันสามเพื่อใช้ในงานบุญใหญ่เข้าพรรษาตักบาตรพระบนหลังเกวียน โดยงบประมาณที่ใช้         นาพันสามยังขาดการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเกษตรและวิถีชีวิตที่คนในชุมชนไปยังคนรุ่นหลัง
        ผลการจัดงานจะมีการแจ้งรายงานให้ที่ประชุมสภากาแฟทราบทั้งก่อนและหลังการดำเนินงาน
        ผ่านทางหอกระจายข่าวทุกหมู่บ้าน ทางแอปพลิเคชันเฟซบุ๊ก ทางแอปพลิเคชันไลน์ และที่ประชุม  บางชุมชนไม่ได้สนใจที่จะเข้ามาร่วมกันในการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ฯ บางชุมชนกำลังจะ
                                                                                              กลายเป็นสังคมเมืองออกไปทำงานในอำเภอเมืองกันเกือบทั้งหมดและไม่ได้กลับมาทำการเกษตร
        สภาองค์การบริหารส่วนตำบลนาพันสาม
                                                                                              และทำไร่ในชุมชน ซึ่งแท้จริงแล้วชุมชนนาพันสามใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในวิถีชีวิต
              ผลงานความสำเร็จจากการจัดงานบุญใหญ่เข้าพรรษาตักบาตรพระบนหลังเกวียนกลายเป็น       มานานแล้ว เพียงแต่ยังขาดการสร้างความเข้มแข็งในเรื่องเนื้อหาการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้ฯ

        จุดเริ่มต้นของการมีจิตสำนึกรักชุมชน สร้างความภูมิใจให้แก่ชุมชนตำบลนาพันสามเพราะมี     การรวบรวมฐานความรู้และการถ่ายทอดไปยังคนรุ่นหลังได้ ซึ่งสภากาแฟมองเห็นว่าหากไม่คิด
        การประชาสัมพันธ์งานดังกล่าวออกสื่อโทรทัศน์ทุกช่องทำให้ประชาชนจากทั่วภูมิภาค นักท่องเที่ยว  ริเริ่มรวมทั้งกระตุ้นให้ชุมชนนาพันสามสร้างวิธีคิด และปกป้องทุนทางสังคมให้แก่คนในชุมชน
        รู้จักชุมชนตำบลนาพันสามอย่างมากทำให้การท่องเที่ยวของชุมชนนาพันสามมีชีวิตและสร้างรายได้  จะทำให้ชุมชนนาพันสามกลายเป็นสังคมที่มีปัญหาเช่นเดียวกับหลายๆ แห่ง
        จากการประกอบอาชีพ เช่น การทำขนมหวาน นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานต่างๆ เข้ามาศึกษาดูงาน            ดังนั้น สภากาแฟจึงมีการเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว และในที่สุดจึงมีมติให้จัดตั้ง
        วิถีชุมชนซึ่งทำให้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐตามมาอีกหลายโครงการ อาทิ          เป็นโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมองค์ความรู้ตามแนวพระราชดำริ

        โครงการนวัตวิถีชุมชน โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์  ที่สำคัญและเป็นจุดเปลี่ยนแปลงอย่างมาก คือ   รวมถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ประชาชนได้นำไปปรับใช้เป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
        การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย  และหนังสือพิมพ์มติชนได้ให้เกียรติยกย่องชุมชนตำบลนาพันสาม  ตามความเหมาะสม อย่างไรก็ดี เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง ทางสภากาแฟ
        ให้เป็นหนึ่งในสามแหล่งท่องเที่ยวที่โดดเด่นระดับประเทศในเทศกาลวันเข้าพรรษาของประเทศ
                                                                                              จึงเสนอแนะให้มีการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนทางด้านอาชีพและวัฒนธรรมเฉพาะของ
        โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง                                                               ชุมชนนาพันสาม โดยบรรจุอยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียนในเขตพื้นที่และ
                                                                                              ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการเสนอให้ปราชญ์ของชุมชนเข้ามาถ่ายทอดความรู้ในโรงเรียนเศรษฐกิจ
              จากสภาพสังคมและลักษณะการประกอบอาชีพของคนในชุมชนนาพันสามที่อยู่บน
        วิถีชุมชนแบบชนบทและอาศัยรายได้จากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ก่อให้เกิด           พอเพียงเพื่อเป็นแหล่งสาธิตการเรียนรู้สู่ชุมชนอย่างแท้จริง ทั้งนี้ การจัดตั้งโรงเรียนเศรษฐกิจ
        องค์ความรู้ด้านการทำเกษตร ทำไร่ ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยเหตุนี้เอง   พอเพียงจะไม่เป็นเพียงโรงเรียนเฉพาะของชุมชนนาพันสาม แต่ยังจะเป็นเป็นแหล่งสาธิตการเรียนรู้

        ชุมชนจึงร่วมกันจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น ในปี พ.ศ. 2554     เศรษฐกิจพอเพียงให้แก่เยาวชน ประชาชน กลุ่มองค์กรต่างๆ  ทั้งในและนอกพื้นที่ ส่งเสริม
        ภายใต้มติและความเห็นร่วมกันของสภากาแฟ โดยมีประชาชนในพื้นที่ หมู่ 8 เป็นเจ้าภาพหลัก    การถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้ชีวิตแบบง่ายๆแบบชาวบ้านตามหลักปรัชญา
        ในการดำเนินงาน กำหนดให้วัดเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมโยงสู่ประชาชนในชุมชน และมีองค์การ   เศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ สอนให้เด็กในชุมชนลงมือทำกิจกรรม
        บริหารส่วนตำบลนาพันสามเป็นผู้ประสานงานหลักและดำเนินการในด้านการจัดตั้ง การเชื่อมโยง   อย่างต่อเนื่องใช้ความรู้และประสบการณ์จริงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในตำบล
        ระหว่างชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่และนอกพื้นที่เข้ามาสนับสนุนการจัดตั้งโรงเรียนเศรษฐกิจ     มาดำเนินการ ซึ่งผลลัพธ์ของการบริหารโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียงยังเป็นการส่งเสริมและ





        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273   274