Page 13 - kpi20852
P. 13
การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ
ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
การประมาณการทางการคลังระยะปานกลางคาดว่า การจัดทำ
งบประมาณในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึง 2570 จะเป็น
การจัดทำงบประมาณแบบขาดดุลต่อเนื่องทุกปี โดยประเมินว่าสัดส่วนหนี้
สาธารณะต่อ GDP จะเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 42.1 ณ สิ้นปีงบประมาณ 2561
เป็นร้อยละ 54.9 ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 แม้สัดส่วนหนี้สาธารณะ
ต่อ GDP ที่ระดับราวร้อยละ 55 จะไม่เกินระดับที่คณะกรรมการนโยบาย
การเงินการคลังของรัฐ (คณะกรรมการฯ) กำหนดไว้ อย่างไรก็ตาม
หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรงที่เริ่มปรับตัวขึ้นสู่ระดับสูงจะสร้างข้อจำกัดให้กับ
รายงานฉบับนี้นำเสนอการวิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีเพื่อใช้ตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ของ
รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่าย ประเทศมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 รายจ่ายชำระหนี้
ประจำปี พ.ศ. 2563) และแนวโน้มการคลังระยะปานกลาง โดยมีสาระ รวมของรัฐบาลอาจอยู่ในระดับสูงราวร้อยละ 11.6 ของงบประมาณรายจ่าย
สำคัญดังต่อไปนี้ ประจำปี ในขณะที่ รัฐบาลยังมีภาระในการจัดสรรเงินอุดหนุนให้กับองค์กร
การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลในช่วงที่ผ่านมา ปกครองส่วนท้องถิ่นอีกราวร้อยละ 8.0 ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี
เป็นการจัดทำในลักษณะขาดดุลมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน ทั้งนี้ การขาดดุล อีกด้วย
งบประมาณในระยะหลังส่งผลให้รัฐบาลเพิ่มสัดส่วนงบรายจ่ายลงทุนได้เกิน และในกรณีที่สภาวะเศรษฐกิจเกิดการชะลอตัวมากกว่ากรณี
กว่าร้อยละ 20 โดยงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ฐาน สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP อาจปรับตัวสูงขึ้นสู่ระดับร้อยละ 67.0
ได้ถูกกำหนดวงเงินไว้ที่ 3.2 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงบประมาณรายจ่าย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 เกินกว่าระดับที่คณะกรรมการฯ กำหนดไว้
ประจำปี พ.ศ. 2562 จำนวน 2 แสนล้านบาท โดยเป็นการจัดทำงบประมาณ ซึ่งจะสร้างความกังวลให้กับสถานการณ์ความยั่งยืนทางการคลังของประเทศ
ในลักษณะขาดดุลและมีสัดส่วนงบรายจ่ายลงทุนอยู่ที่ร้อยละ 21.6 ไทย และสร้างข้อจำกัดให้กับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี
รายงานฉบับนี้ประเมินว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รัฐบาล เพื่อตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ชาติเป็นอย่างมาก
จะขาดดุล 454,000 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 2.59 ของ GDP ซึ่ง สามารถกล่าวได้ว่างบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ
ต่ำกว่าระดับการขาดดุลที่รัฐบาลได้ประมาณการไว้ 15,000 ล้านบาท ทั้งนี้ พ.ศ. 2563 ของรัฐบาล ถูกจัดทำขึ้นภายใต้การประมาณการทางด้านรายได้
เป็นเพราะประมาณการรายได้สุทธิที่รัฐบาลจัดเก็บได้ในรายงานนี้สูงกว่า อย่างระมัดระวัง อย่างไรก็ตาม การจัดสรรงบประมาณดังกล่าวยังไม่สามารถ
ประมาณการของรัฐบาล อันเป็นผลส่วนหนึ่งจากคาดการณ์รายได้ของ แสดงให้เห็นถึงสัญญาณการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการขาดดุลงบประมาณ
“หน่วยงานอื่น” ที่สูงกว่าประมาณการของรัฐบาลเป็นจำนวน 58,148 ที่เกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่องยาวนานได้ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความกังวลต่อ
ล้านบาท ส่งผลให้สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP คงอยู่ในระดับร้อยละ 42.1 ความสามารถในการดำเนินตามกรอบวินัยการเงินการคลังที่คณะกรรมการฯ
สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า