Page 28 - kpi20852
P. 28
การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ
ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
งานศึกษานี้ได้เพิ่มตัวแปรหุ่น (Dummy variables, Dummy) แห่งชาติ ส่วนอัตราเงินเฟ้อกำหนดไว้ที่ร้อยละ 0.6 สำหรับปีปฏิทิน
ในแบบจำลองเพื่อสะท้อนผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างรายได้ที่ พ.ศ. 2562 และร้อยละ 1.0 สำหรับปี พ.ศ. 2563-2570 (กำหนดให้อัตรา
มีนัยสำคัญในช่วงเวลานั้น ๆ นอกจากนี้ จะใส่ตัวแปรหุ่นไตรมาส 1 ถึง 3 เงินเฟ้ออยู่ในระดับต่ำกว่ากรณีฐานที่ 0.25 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
รวมไว้ในชุดตัวแปรอิสระในทุกสมการ เพื่อสะท้อนรูปแบบการจัดเก็บ คำนวณจากข้อมูลย้อนหลัง 15 ปี ล่าสุด)
รายได้ที่เหมือนกันในแต่ละไตรมาสของแต่ละปี ทั้งนี้ งานศึกษานี้ได้กำหนด กรณีที่ 3: กรณีเศรษฐกิจขยายตัวมากกว่าที่คาดการณ์ (Economic
สมมติฐานเกี่ยวกับค่าในอนาคตในช่วงเวลาประมาณการของตัวแปรทาง expansion) กำหนดให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่แท้จริงในปีปฏิทิน
เศรษฐกิจต่าง ๆ เป็นสามกรณี (ดังแสดงในตารางที่ 4.2) ดังนี้ พ.ศ. 2562 ไว้ที่ร้อยละ 3.2 ตามค่า ณ กรอบด้านบนของช่วงประมาณการ
กรณีที่ 1: กรณีฐาน (Baseline Scenario) กำหนดให้อัตรา ในรายงานภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสสองปี 2562 และแนวโน้มปี 2562
การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่แท้จริงในปีปฏิทิน พ.ศ. 2562 และ 2563 ไว้ที่ ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
ร้อยละ 3.0 และ 3.3 ส่วนปีปฏิทิน พ.ศ. 2564 จนถึง 2570 กำหนดไว้ที่ และสังคมแห่งชาติ และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป กำหนดไว้ที่ร้อยละ
ร้อยละ 3.3 ส่วนอัตราเงินเฟ้อกำหนดไว้ที่ร้อยละ 1.0 สำหรับปีปฏิทิน 4.0 (กำหนดให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่แท้จริงของประเทศไทย
พ.ศ. 2562 และร้อยละ 1.4 สำหรับปี พ.ศ. 2563-2570 ทั้งนี้ การกำหนด สูงกว่าอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในกรณีฐานที่ 0.25 เท่าของค่าเบี่ยงเบน
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อในปี พ.ศ. 2562 เป็นการ มาตรฐาน คำนวณจากข้อมูลย้อนหลัง 15 ปี ล่าสุด) ส่วนอัตราเงินเฟ้อ
กำหนดตามค่ากลางของช่วงประมาณการ ในรายงานภาวะเศรษฐกิจไทย กำหนดไว้ที่ร้อยละ 1.4 สำหรับปีปฏิทิน พ.ศ. 2562 และร้อยละ 1.8 สำหรับ
ไตรมาสสองปี 2562 และแนวโน้มปี 2562 ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563-2570 (กำหนดให้อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูงกว่ากรณีฐานที่
ของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในขณะที่ ในช่วง 0.25 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คำนวณจากข้อมูลย้อนหลัง 15 ปี
นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 อาศัยค่าเฉลี่ยข้อมูล 15 ปีหลังสุดของประเทศไทย ล่าสุด)
กรณีที่ 2: กรณีเศรษฐกิจชะลอตัวอย่างมาก (Economic ในทั้งสามกรณีข้างต้น อัตราดอกเบี้ยกำหนดไว้ที่ ร้อยละ 3.23
slowdown) กำหนดให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่แท้จริงในปีปฏิทิน (ค่าเฉลี่ยรายจ่ายดอกเบี้ยต่อหนี้สาธารณะที่รัฐบาลรับผิดชอบ
พ.ศ. 2562 ถึง 2570 ไว้ที่ร้อยละ 2.7 (กำหนดให้อัตราการเติบโตทาง 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง) ตลอดช่วงระยะเวลาประมาณการ
เศรษฐกิจที่แท้จริงของประเทศไทยต่ำกว่าอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ภายใต้สมมติฐานที่กำหนดไว้ในแต่ละกรณี เมื่อรวมรายได้ทุกประเภท
ในกรณีฐานที่ 0.25 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คำนวณจากข้อมูล ดังกล่าวแล้วจะได้รายได้รวมของรัฐบาล ซึ่งจะนำไปหักลดการคืนภาษีของ
ย้อนหลัง 15 ปี ล่าสุด) ทั้งนี้ อัตราการขยายตัวดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2562 กรมสรรพากร การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้กับ อบจ. การกันเงินเพื่อชดเชย
มีความสอดคล้องกับค่า ณ กรอบด้านล่างของช่วงประมาณการ ในรายงาน ภาษีสำหรับสินค้าส่งออก และอากรถอนคืนกรมศุลกากร เพื่อจะได้รายได้
ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสสองปี 2562 และแนวโน้มปี 2562 ณ วันที่ สุทธิของรัฐบาล ซึ่งในการประมาณการการหักลดการคืนภาษีทั้งสี่ประเภท
19 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า
1 1