Page 180 - 22373_Fulltext
P. 180

5) จากฐานทะเบียนราษฎร์เทศบาลนครยะลามีเด็กและเยาวชนดังนี้ เด็กอายุ 2-5 ปี จ้านวน

              4,203 คน (วันที่ 21 มีนาคม 2564) อายุ 6-15 ปี ตามทะเบียนบ้าน 11,740 คน อายุ 16-18 ปี 3,370 คน
              เด็กพิเศษที่จดทะเบียนเป็นคนพิการในเขตเทศบาล อายุ 2-18 ปี จ้านวน 147 คน แบ่งเป็น บกพร่องการ

              มองเห็น 4 คน การได้ยิน 7 คน ทางสติปัญญา 49 คน ทางการเคลื่อนไหว 19 คน ปัญหาด้านการเรียนรู้ 30
              คน พฤติกรรมออทิสติก ซ้้าซ้อน 14 คน พิการอื่น ๆ 24 คน เด็กเข้าสู่ระบบฐานศึกษา (โรงเรียนในเขตเทศบาล
              นครยะลา) 2-5 ปี เด็กเข้าสู่ระบบการศึกษาทั้งหมด 3,331 แบ่งเป็นสังกัดสถานศึกษาของเทศบาล 1,227

              (สพฐ. 5 แห่ง โรงเรียนเทศบาล 1-6) ส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลาเขต 1 มี 2 โรงเรียน มีเด็ก 674 คน
              สังกัดส้านักงานเอกชน มี 8 โรงเรียน มีเด็กทั้งหมด 1,630 คน เมื่อรวมกับจ้านวนเด็กที่มีชื่อตามทะเบียนบ้าน

              ปรากฏว่ามีเด็กบางส่วนที่ไม่ได้เข้าสู่ระบบการศึกษาจ้านวน 872 คน โดยใช้ข้อมูลขององค์การบริหารส่วน
              จังหวัดการลงพื้นที่เก็บข้อมูล เป็นกลุ่มที่เป็นช่วงอายุที่อยู่ในเกณฑ์เข้าเรียนแต่ ผู้ปกครองไม่ประสงค์ให้บุตร
              เข้าสู่ระบบการศึกษา เนื่องจากที่บ้านมีความพร้อม ไม่มีปัญหาเรื่องความยากจน ที่ประสงค์จะขอรับความ

              ช่วยเหลือจริง ๆ มีเพียง 6 คน โดยใน 6 คนมีชื่ออยู่ในเขตพื้นที่ แต่ไม่มีชื่อในกลุ่มตัวอย่างขององค์การบริหาร
              ส่วนจังหวัด ส่วนใหญ่ฐานะยากจน พ่อแม่ออกไปท้างาน

                         6) ด้วยเป็นพื้นที่เขตเมือง ท้าให้ข้อมูลในพื้นที่เทศบาลมีจ้านวนเด็กอายุ 6-15 ปี จ้านวน 11,740
              คน แต่มีเด็กที่เข้าสู่ระบบการศึกษา 14,754 คน เนื่องจากมีการเข้ามาของประชากรนอกเขตเมือง โดยโรงเรียน

              ภายใต้สังกัดเทศบาลนครยะลามีจ้านวนเด็ก 2,434 (โรงเรียนเทศบาล 1-6) โรงเรียนในเขตพื้นที่ 2 โรงเรียน
              จ้านวน 3,266 คน สถานศึกษาสังกัดมัธยมศึกษาเขต 15 จ้านวน 2,072 คน สังกัดส้านักงานเอกชน 9 โรงเรียน
                   การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
              มีนักเรียนทั้งหมด 6,882 คน จะมีจ้านวนเด็กมา โดยกระจายอยู่ทั้งในโรงเรียนสอนศาสนาควบคู่กับโรงเรียน
              สายสามัญ

                         7) โรงเรียนที่เน้นการสอนทางศาสนามีขนาดเล็กแต่มีเด็กจ้านวนกว่า 8,000 คน ผล ในขณะที่
              ผลการทดสอบ o-net มีคะแนนสูง รวมถึงโรงเรียนสตรีอิสลามมีผลคะแนน o-net สูงเช่นเดียวกัน เป็น

              โรงเรียนที่เน้นเรียนเพียงอย่างเดียว ไม่กิจกรรมอื่น หากมีกิจกรรมจะเป็นกิจกรรมที่ ตามที่โรงเรียนก้าหนดไว้
              ท้าให้เทศบาลตั้งค้าถามว่า “ท าไมเค้าสอนศาสนา แต่เด็กมัธยมมีคะแนนสูง เด็กเค้าดี ๆ หมดเลย ติดแพทย์
              วิศวะ น่าคิดมากเลยว่า เค้าท าได้ยังไง” อีกทั้งครูผู้สอนไม่ใช่ข้าราชการ จึงน่าเป็นตัวอย่าง เทศบาลมีความ

              ต้องการที่จะเข้าไปศึกษาดูงาน แม้ว่าห้องเรียนจะมีสัดส่วนครูต่อเด็กนักเรียนสูง อาทิ 1 ห้อง มีนักเรียน 50 คน
              แต่เด็กนักเรียนมีคุณภาพการศึกษา

                         8) ปัญหาของเด็กเยาวชนในต้าบล ได้แก่ ปัญหาเด็กนอกระบบ ที่หลุดออกจากระบบของ
              การศึกษา ส่วนใหญ่ปัญหามาจากผู้ปกครองที่ไม่ได้ให้ความส้าคัญ ด้วยต้องให้ลูกช่วยท้างาน ต้องช่วยพ่อแม่

              อย่างไรก็ตามสามารถจ้าแนกผู้ปกครองได้เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก เป็นกลุ่มที่ผู้ปกครองไม่ต้องการให้บุตรเข้าสู่
              ระบบการศึกษาโดยเป็นกลุ่มที่มีฐานะดี แต่ไม่ต้องการให้เด็กเข้าเรียน กับกลุ่มที่ผู้ปกครองไม่มีฐานะ

              ต้องท้างาน ยากจน ไม่สามารถส่งลูกเข้าเรียนได้ ต้องท้างาน ส้าหรับกลุ่มผู้ปกครองไม่ต้องการให้เด็กเข้า
              โรงเรียนนั้นเป็นเพราะพ่อแม่เห็นว่าตนเองสามารถดูแลเด็กเองได้ เหมือนการเรียนสอนแบบ homeschool
              ส่วนกลุ่มเด็กที่ผู้ปกครองยากจน เด็กต้องไปท้างาน เทศบาลจะพยายามท้าให้เด็กเข้าสู่ระบบการศึกษาของ

              กศน. หรือท้าให้เด็กมีอาชีพ สามารถที่จะมาเรียนได้ เช่น เรียนวันเสาร์ 1 วัน โดยอาจไม่ต้องมาเรียนที่ศูนย์
              แต่ไปเรียนที่ชุมชน ต้องพูดคุยกับเครือข่าว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดที่จะเข้าไป หรือจะมุ่งเน้นที่เด็ก

              6 คน ที่ประสงค์จะให้ช่วยเหลือ เพื่อให้สามารถช่วยเหลือให้ตรงกับสิ่งที่ต้องการ



      156     วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185