Page 5 - 22373_Fulltext
P. 5

บทสรุปผู้บริหาร


                        ด้วยประเทศไทยได้เผชิญกับควำมเหลื่อมล้ ำในหลำยมิติทำงด้ำนกำรศึกษำ กำรสร้ำงโอกำส และควำม
                เสมอภำคทำงสังคม จึงกลำยมำเป็นหนึ่งในนโยบำยส ำคัญในกำรพัฒนำประเทศในช่วงระยะ 20 ปี (พ.ศ.

                2561-2580) ภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม โดยมีองค์กรปกครอง
                ส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกส ำคัญในกำรสร้ำงควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ  ด้วยเหตุนี้วิทยำลัยพัฒนำกำรปกครอง

                ท้องถิ่น สถำบันพระปกเกล้ำจึงจัดให้มีโครงกำรวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดควำม
                เหลื่อมล้ ำในพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงค์ 2 ประกำร ได้แก่ เพื่อเสริมสร้ำงให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสร้ำงควำม

                เสมอภำคทำงกำรศึกษำ และเพื่อขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ด ำเนินโครงกำรเสริมสร้ำงควำมเสมอ
                ภำคทำงกำรศึกษำในพื้นที่ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหำหรือลดช่องว่ำงควำมเหลื่อมล้ ำทำงด้ำนกำรศึกษำที่เกิดขึ้นใน

                พื้นที่ของตน โดยเป็นกำรวิจัยเชิงปฏิบัติกำร ซึ่งผลกำรด ำเนินงำนสำมำรถสรุปได้ดังนี้

                        ประการที่ 1  จำกกำรด ำเนินโครงกำรวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดควำม
                เหลื่อมล้ ำในพื้นที่ มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สมัครเข้ำร่วมโครงกำรจ ำนวน 11 แห่ง ได้แก่  1) องค์กำร

                บริหำรส่วนต ำบลบำงครก จังหวัดเพชรบุรี  2) องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลนำขอม จังหวัดนครสวรรค์
                3) เทศบำลต ำบลป่ำก่อด ำ จังหวัดเชียงรำย  4) เทศบำลเมืองวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์  5) เทศบำลเมือง

                บำงกะดี จังหวัดปทุมธำนี   6) เทศบำลเมืองล ำพูน จังหวัดล ำพูน  7) เทศบำลเมืองเขำสำมยอด จังหวัดลพบุรี
                8) เทศบำลเมืองนรำธิวำส จังหวัดนรำธิวำส  9) เทศบำลนครสกลนคร จังหวัดสกลนคร  10) เทศบำลนคร

                ยะลำ จังหวัดยะลำ และ 11) องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดปัตตำนี จังหวัดปัตตำนี  โดยองค์กรปกครองส่วน
                ท้องถิ่นดังกล่ำวมีศักยภำพด้ำนองค์กร และสภำพปัญหำแตกต่ำงกันไปตำมบริบทของพื้นที่


                        ประการที่ 2  ในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน ำร่องส่วนใหญ่สภำพปัญหำควำมเหลื่อมล้ ำที่พบ
                ได้แก่  1) ปัญหำเด็กด้อยโอกำสอันเนื่องมำจำกควำมยำกจน โดยสำเหตุหลักมำจำกอำชีพ เช่น มีอำชีพไม่มั่นคง

                โดยเฉพำะเมื่อผู้ปกครองต้องย้ำยถิ่นไปท ำงำนนอกพื้นที่ กำรขำดแคลนที่ดินในกำรท ำเกษตร รำคำผลผลิตทำง
                กำรเกษตรตกต่ ำ ฯลฯ  โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเมื่อเกิดกำรแพร่ระบำดของโควิด-19  2) ปัญหำเด็กด้อยโอกำส
                มำจำกครอบครัว โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งจำกกำรหย่ำร้ำงของบิดำมำรดำท ำให้ต้องอยู่กับปู่ย่ำตำยำยซึ่งเป็นผู้สูงอำยุ

                กำรได้รับกำรดูแลด้ำนกำรศึกษำจึงน้อยกว่ำอยู่กับบิดำหรือมำรดำ  3) ปัญหำเด็กด้อยโอกำสที่มำจำกควำมพิกำร

                ท ำให้เป็นอุปสรรคในกำรศึกษำโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเมื่อครอบครัวมีฐำนะยำกจน  4) ปัญหำเด็กด้อยโอกำส
                อันเนื่องมำจำกพฤติกรรมของเด็กเอง เช่น ติดยำเสพติด ติดเกม มีบุตรในวัยเรียน  5) ปัญหำเด็กด้อยโอกำส
                อันเนื่องมำจำกไร้สัญชำติ ท ำให้ไม่สำมำรถเข้ำถึงระบบกำรศึกษำได้ ซึ่งพบมำกใน 3 จังหวัดชำยแดนภำคใต้

                6) ปัญหำกำรกระจุกตัวของนักเรียนในโรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่งอันเนื่องมำจำกโรงเรียนมีคุณภำพแตกต่ำงกัน

                7) ปัญหำคุณภำพของสถำนศึกษำเมื่อพิจำรณำจำกผลสอบตำมมำตรฐำนในระดับประเทศ และ 8) ปัญหำ
                สัดส่วนจ ำนวนครูต่อจ ำนวนเด็กต่ ำ รวมถึงปัญหำโรงเรียนมีจ ำนวนเด็กมำกน้อยไม่เท่ำกันท ำให้โรงเรียนได้รับกำร
                สนับสนุนงบประมำณแตกต่ำงกัน จนน ำมำสู่ควำมเหลื่อมล้ ำในกำรได้รับสวัสดิกำรต่ำง ๆ ของเด็กในโรงเรียน

                เช่น ค่ำอำหำรกลำงวัน







                                                                                                           III
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10